ส่งเสริมสุขภาพ อาหารปลอดภัย หลีกเลี่ยงสารเคมี ห่างไกลสารพิษ ชุมชนสถานีอู่ตะเภา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ส่งเสริมสุขภาพ อาหารปลอดภัย หลีกเลี่ยงสารเคมี ห่างไกลสารพิษ ชุมชนสถานีอู่ตะเภา ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางธัญญารัตน์ พูลเกิด
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่
สิงหาคม 2562
ชื่อโครงการ ส่งเสริมสุขภาพ อาหารปลอดภัย หลีกเลี่ยงสารเคมี ห่างไกลสารพิษ ชุมชนสถานีอู่ตะเภา
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7258-2-44 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2562 ถึง 30 สิงหาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมสุขภาพ อาหารปลอดภัย หลีกเลี่ยงสารเคมี ห่างไกลสารพิษ ชุมชนสถานีอู่ตะเภา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมสุขภาพ อาหารปลอดภัย หลีกเลี่ยงสารเคมี ห่างไกลสารพิษ ชุมชนสถานีอู่ตะเภา
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมสุขภาพ อาหารปลอดภัย หลีกเลี่ยงสารเคมี ห่างไกลสารพิษ ชุมชนสถานีอู่ตะเภา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7258-2-44 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2562 - 30 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันนี้พบว่าในพื้นที่ชุมชนสถานีอู่ตะเภา มีปัญหาเรื่องสุขภาพเนื่องจากมีพฤติกรรมการดำรงชีวิตที่ไม่เหมาะสม เราสามารถดูแลสุขภาพได้ตามหลัก 3 อ. คือ อ.ที่ 1 คือ อาหาร รับประทานอาหารครบ 3 มื้อ ครบทั้ง 5 หมู่ ลดความหวาน มัน เค็ม เพิ่มผักและผลไม้ หลีกเลี่ยงอาหารที่ใช้น้ำมันซ้ำหลายๆ ครั้ง กินอาหารหลากหลายไม่จำเจ และอาหารที่ไม่มีสารพิษ อ.ที่ 2 คือ ออกกำลังกาย การออกกำลังกายทำให้แข็งแรง อายุยืน โดยออกกำลังกายครั้งละ 30 นาที และทำอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน อ.ที่ 3 คือ อารมณ์ เลือกวิธีที่ถนัด สนใจทำแล้วเพลิดเพลิน ลดความเครียด มีความสุข เช่น ฟังเพลง ร้องเพลง ดูโทรทัศน์ นอนหลับพักผ่อน ปลูกต้นไม้ พูดคุยพบปะกับ เพื่อนฝูงซึ่งสุขภาพที่ดีต้องอาศัยหลัก 3 อ จากปัญหาด้านสุขภาพในพื้นที่พบ คนในชุมชนมีสุขภาพที่ไม่แข็งแรง เนื่องจากการขาดองค์ประกอบทั้ง 3 ด้าน ทำให้ต้องเผชิญกับความเจ็บป่วยด้วย โรคเรื้อรัง เนื่องจากปัญหาด้านสุขภาพรุมเร้ามานาน ซึ่งเห็นได้จากสถิติของผู้ป่วยที่มารับบริการรักษาพยาบาล ที่โรงพยาบาลมีจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ และอัตราการป่วยจากโรคที่ไม่ติดต่อเพิ่มสูงขึ้น โรงพยาบาลก็ต้องเพิ่มขนาดของโรงพยาบาลเพื่อให้รองรับผู้ที่มารับบริการ ซึ่งเป็นภาระที่รัฐบาลจะต้องเสียงบประมาณในการดำเนินการเป็นอันมาก และเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ เนื่องจากต้นเหตุของปัญหาสุขภาพที่สำคัญมีสาเหตุ มาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ พืชผักเป็นพืชอาหารที่คนไทยนิยมนำมาใช้รับประทานกันมาก เนื่องจากมีคุณค่าทางอาหารทั้งวิตามินและแร่ธาตุต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายสูง แต่ค่านิยมในการบริโภคผักนั้น มักจะเลือกบริโภคผักที่สวยงามไม่มีร่องรอยการทำลายของหนอนและแมลงศัตรูพืช จึงทำให้เกษตรกรที่ปลูกผักจะต้องใช้สารเคมีป้องกันและกำจัดแมลงฉีดพ่นในปริมาณที่มาก เพื่อให้ได้ผักที่สวยงามตามความต้องการของตลาด เมื่อผู้ซื้อนำมาบริโภคแล้วอาจได้รับอันตรายจากสารพิษที่ตกค้างอยู่ในพืชผักนั้นได้ เพื่อเป็นการแก้ปัญหาดังกล่าว ชุมชนสถานีอู่ตะเภา จึงหันมาส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษ
การปลูกผักรับประทานเองแบบผักอินทรีย์ก็เป็นหนทางหนึ่งที่จะช่วยใช้ผู้บริโภคได้รับสารอาหารที่ดี มีประโยชน์อย่างแท้จริง แต่กระนั้น สำหรับประชาชนที่ไม่เคยปลูกผักเลยก็เป็นปัญหาใหญ่ ในการที่จะเริ่มต้นที่จะเรียนรู้การปลูกผักด้วยตนเอง ชุมชนสถานีอู่ตะเภาตระหนักในปัญหานี้ จึงได้ร่วมกันจัดตั้งโครงการ ส่งเสริมสุขภาพ อาหารปลอดภัย หลีกเลี่ยง สารเคมี ห่างไกลสารพิษ ชุมชนสถานีอู่ตะเภา นี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ชุมชนมีความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ และมีพืชผักปลอดสารพิษในการบริโภค
- เพื่อลดปริมาณขยะก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดอย่างถูกวิธี
- เพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์ ความรักความสามัคคีในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติจริง เรื่องผักปลอดสารพิษ และส่งเสริมการทำปุ๋ยหมักชีวะภาพและน้ำหมักชีวภาพ ลดการมช้สารเคมีในชุมชน
- สวนผักปลอดสารในชุมชน
- อบรมเชิงปฏิบัติการประจำเดือน
- การสื่อสารประชาสัมพันธ์
- สรุปผลการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เกิดปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโรคในครังเรือน
2.ลดปริมาณขยะเปียกในครัวเรือน ชุมชน
3.เกิดปฏิสัมพันธ์ ความรักความสามัคคีในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติจริง เรื่องผักปลอดสารพิษ และส่งเสริมการทำปุ๋ยหมักชีวะภาพและน้ำหมักชีวภาพ ลดการมช้สารเคมีในชุมชน
วันที่ 30 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ
ชุมชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ชุมชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษ
0
0
2. สวนผักปลอดสารในชุมชน
วันที่ 30 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ
ชุมชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ชุมชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษ
0
0
3. อบรมเชิงปฏิบัติการประจำเดือน
วันที่ 30 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ
ชุมชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ชุมชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษ
0
0
4. การสื่อสารประชาสัมพันธ์
วันที่ 30 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ
ชุมชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ชุมชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษ
0
0
5. สรุปผลการดำเนินงาน
วันที่ 30 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ
ชุมชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ชุมชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษ
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ชุมชนมีความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ และมีพืชผักปลอดสารพิษในการบริโภค
ตัวชี้วัด : ชุมชนมีความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ
0.00
2
เพื่อลดปริมาณขยะก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ชุมชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษรับประทานเอง
0.00
3
เพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์ ความรักความสามัคคีในชุมชน
ตัวชี้วัด : ชุมชนมีความรู้เรื่องการคัดแยกขยะเปียก และสามารถลดปริมาณขยะเปียก
มีปฏิสัมพันธ์ ความรัก ความสามัคคีในชุมชน
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ชุมชนมีความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ และมีพืชผักปลอดสารพิษในการบริโภค (2) เพื่อลดปริมาณขยะก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดอย่างถูกวิธี (3) เพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์ ความรักความสามัคคีในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติจริง เรื่องผักปลอดสารพิษ และส่งเสริมการทำปุ๋ยหมักชีวะภาพและน้ำหมักชีวภาพ ลดการมช้สารเคมีในชุมชน (2) สวนผักปลอดสารในชุมชน (3) อบรมเชิงปฏิบัติการประจำเดือน (4) การสื่อสารประชาสัมพันธ์ (5) สรุปผลการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่งเสริมสุขภาพ อาหารปลอดภัย หลีกเลี่ยงสารเคมี ห่างไกลสารพิษ ชุมชนสถานีอู่ตะเภา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7258-2-44
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางธัญญารัตน์ พูลเกิด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ส่งเสริมสุขภาพ อาหารปลอดภัย หลีกเลี่ยงสารเคมี ห่างไกลสารพิษ ชุมชนสถานีอู่ตะเภา ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางธัญญารัตน์ พูลเกิด
สิงหาคม 2562
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7258-2-44 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2562 ถึง 30 สิงหาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมสุขภาพ อาหารปลอดภัย หลีกเลี่ยงสารเคมี ห่างไกลสารพิษ ชุมชนสถานีอู่ตะเภา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมสุขภาพ อาหารปลอดภัย หลีกเลี่ยงสารเคมี ห่างไกลสารพิษ ชุมชนสถานีอู่ตะเภา
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมสุขภาพ อาหารปลอดภัย หลีกเลี่ยงสารเคมี ห่างไกลสารพิษ ชุมชนสถานีอู่ตะเภา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7258-2-44 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2562 - 30 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันนี้พบว่าในพื้นที่ชุมชนสถานีอู่ตะเภา มีปัญหาเรื่องสุขภาพเนื่องจากมีพฤติกรรมการดำรงชีวิตที่ไม่เหมาะสม เราสามารถดูแลสุขภาพได้ตามหลัก 3 อ. คือ อ.ที่ 1 คือ อาหาร รับประทานอาหารครบ 3 มื้อ ครบทั้ง 5 หมู่ ลดความหวาน มัน เค็ม เพิ่มผักและผลไม้ หลีกเลี่ยงอาหารที่ใช้น้ำมันซ้ำหลายๆ ครั้ง กินอาหารหลากหลายไม่จำเจ และอาหารที่ไม่มีสารพิษ อ.ที่ 2 คือ ออกกำลังกาย การออกกำลังกายทำให้แข็งแรง อายุยืน โดยออกกำลังกายครั้งละ 30 นาที และทำอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน อ.ที่ 3 คือ อารมณ์ เลือกวิธีที่ถนัด สนใจทำแล้วเพลิดเพลิน ลดความเครียด มีความสุข เช่น ฟังเพลง ร้องเพลง ดูโทรทัศน์ นอนหลับพักผ่อน ปลูกต้นไม้ พูดคุยพบปะกับ เพื่อนฝูงซึ่งสุขภาพที่ดีต้องอาศัยหลัก 3 อ จากปัญหาด้านสุขภาพในพื้นที่พบ คนในชุมชนมีสุขภาพที่ไม่แข็งแรง เนื่องจากการขาดองค์ประกอบทั้ง 3 ด้าน ทำให้ต้องเผชิญกับความเจ็บป่วยด้วย โรคเรื้อรัง เนื่องจากปัญหาด้านสุขภาพรุมเร้ามานาน ซึ่งเห็นได้จากสถิติของผู้ป่วยที่มารับบริการรักษาพยาบาล ที่โรงพยาบาลมีจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ และอัตราการป่วยจากโรคที่ไม่ติดต่อเพิ่มสูงขึ้น โรงพยาบาลก็ต้องเพิ่มขนาดของโรงพยาบาลเพื่อให้รองรับผู้ที่มารับบริการ ซึ่งเป็นภาระที่รัฐบาลจะต้องเสียงบประมาณในการดำเนินการเป็นอันมาก และเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ เนื่องจากต้นเหตุของปัญหาสุขภาพที่สำคัญมีสาเหตุ มาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ พืชผักเป็นพืชอาหารที่คนไทยนิยมนำมาใช้รับประทานกันมาก เนื่องจากมีคุณค่าทางอาหารทั้งวิตามินและแร่ธาตุต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายสูง แต่ค่านิยมในการบริโภคผักนั้น มักจะเลือกบริโภคผักที่สวยงามไม่มีร่องรอยการทำลายของหนอนและแมลงศัตรูพืช จึงทำให้เกษตรกรที่ปลูกผักจะต้องใช้สารเคมีป้องกันและกำจัดแมลงฉีดพ่นในปริมาณที่มาก เพื่อให้ได้ผักที่สวยงามตามความต้องการของตลาด เมื่อผู้ซื้อนำมาบริโภคแล้วอาจได้รับอันตรายจากสารพิษที่ตกค้างอยู่ในพืชผักนั้นได้ เพื่อเป็นการแก้ปัญหาดังกล่าว ชุมชนสถานีอู่ตะเภา จึงหันมาส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษ
การปลูกผักรับประทานเองแบบผักอินทรีย์ก็เป็นหนทางหนึ่งที่จะช่วยใช้ผู้บริโภคได้รับสารอาหารที่ดี มีประโยชน์อย่างแท้จริง แต่กระนั้น สำหรับประชาชนที่ไม่เคยปลูกผักเลยก็เป็นปัญหาใหญ่ ในการที่จะเริ่มต้นที่จะเรียนรู้การปลูกผักด้วยตนเอง ชุมชนสถานีอู่ตะเภาตระหนักในปัญหานี้ จึงได้ร่วมกันจัดตั้งโครงการ ส่งเสริมสุขภาพ อาหารปลอดภัย หลีกเลี่ยง สารเคมี ห่างไกลสารพิษ ชุมชนสถานีอู่ตะเภา นี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ชุมชนมีความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ และมีพืชผักปลอดสารพิษในการบริโภค
- เพื่อลดปริมาณขยะก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดอย่างถูกวิธี
- เพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์ ความรักความสามัคคีในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติจริง เรื่องผักปลอดสารพิษ และส่งเสริมการทำปุ๋ยหมักชีวะภาพและน้ำหมักชีวภาพ ลดการมช้สารเคมีในชุมชน
- สวนผักปลอดสารในชุมชน
- อบรมเชิงปฏิบัติการประจำเดือน
- การสื่อสารประชาสัมพันธ์
- สรุปผลการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เกิดปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโรคในครังเรือน 2.ลดปริมาณขยะเปียกในครัวเรือน ชุมชน 3.เกิดปฏิสัมพันธ์ ความรักความสามัคคีในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติจริง เรื่องผักปลอดสารพิษ และส่งเสริมการทำปุ๋ยหมักชีวะภาพและน้ำหมักชีวภาพ ลดการมช้สารเคมีในชุมชน |
||
วันที่ 30 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำชุมชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นชุมชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษ
|
0 | 0 |
2. สวนผักปลอดสารในชุมชน |
||
วันที่ 30 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำชุมชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นชุมชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษ
|
0 | 0 |
3. อบรมเชิงปฏิบัติการประจำเดือน |
||
วันที่ 30 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำชุมชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นชุมชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษ
|
0 | 0 |
4. การสื่อสารประชาสัมพันธ์ |
||
วันที่ 30 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำชุมชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นชุมชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษ
|
0 | 0 |
5. สรุปผลการดำเนินงาน |
||
วันที่ 30 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำชุมชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นชุมชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษ
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ชุมชนมีความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ และมีพืชผักปลอดสารพิษในการบริโภค ตัวชี้วัด : ชุมชนมีความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อลดปริมาณขยะก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดอย่างถูกวิธี ตัวชี้วัด : ชุมชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษรับประทานเอง |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์ ความรักความสามัคคีในชุมชน ตัวชี้วัด : ชุมชนมีความรู้เรื่องการคัดแยกขยะเปียก และสามารถลดปริมาณขยะเปียก มีปฏิสัมพันธ์ ความรัก ความสามัคคีในชุมชน |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ชุมชนมีความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ และมีพืชผักปลอดสารพิษในการบริโภค (2) เพื่อลดปริมาณขยะก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดอย่างถูกวิธี (3) เพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์ ความรักความสามัคคีในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติจริง เรื่องผักปลอดสารพิษ และส่งเสริมการทำปุ๋ยหมักชีวะภาพและน้ำหมักชีวภาพ ลดการมช้สารเคมีในชุมชน (2) สวนผักปลอดสารในชุมชน (3) อบรมเชิงปฏิบัติการประจำเดือน (4) การสื่อสารประชาสัมพันธ์ (5) สรุปผลการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่งเสริมสุขภาพ อาหารปลอดภัย หลีกเลี่ยงสารเคมี ห่างไกลสารพิษ ชุมชนสถานีอู่ตะเภา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7258-2-44
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางธัญญารัตน์ พูลเกิด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......