กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการกระตุ้นพัฒนาการหนูน้อยและเสริมสร้างไอคิว อีคิว ”
ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
น.ส.นูรยะห์ดอเล๊าะเซ็ง




ชื่อโครงการ โครงการกระตุ้นพัฒนาการหนูน้อยและเสริมสร้างไอคิว อีคิว

ที่อยู่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60-L4150-1-16 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 มีนาคม 2560 ถึง 26 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการกระตุ้นพัฒนาการหนูน้อยและเสริมสร้างไอคิว อีคิว จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการกระตุ้นพัฒนาการหนูน้อยและเสริมสร้างไอคิว อีคิว



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการกระตุ้นพัฒนาการหนูน้อยและเสริมสร้างไอคิว อีคิว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4150-1-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 มีนาคม 2560 - 26 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พัฒนาการที่สมวัยเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กไทย การที่เด็กจะมีพัฒนาการสมวัยในทุกๆด้าน ต้องอาศัยความร่วมมือของหลายๆฝ่ายที่เกี่ยวข้องขึ้น เริ่มตั้งแต่แม่หรือครอบครัวที่จะต้องให้การดูแลที่ถูกต้องตั้งแต่อยู่ในครรภ์ โดยการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ในปริมาณและสัดส่วนที่เพียงพอ การออกกำลังกาย การไปตรวจครรภ์ตามนัด ภายหลังคลอดแล้วมีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การให้อาหารเสริมตามวัย ในส่วนของสถานบริการส่งเสริมสุขภาพและให้ความช่วยเหลือแม่และครอบครัวในรายที่ต้องการความช่วยเหลือ ซึ่งครอบครัวและชุมชนควรมีการจัดเตรียมความพร้อมและมีการส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะสมแก่เด็ก รวมทั้งจัดให้มีสถานรับเลี้ยงเด็กก่อนวัยเรียน หรือศูนย์เด็กเล็กเพื่อใช้เป็นสถานที่สำหรับการเตรียมความพร้อม ทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคมให้แก่เด็ก เมื่อครอบครัวและชุมชนมีการเลี้ยงดูเด็กที่ดีแล้ว ก็จะเป็นการวางรากฐานในการพัฒนาคนให้เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคตตลอดจนการได้รับวัคซีนภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุ 0- 5 ปีเพื่อให้ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ หากเขาได้รับการส่งเสริมพัฒนาการที่ดีถูกต้องตามหลักการแล้วเขาจะกลายเป็นพลเมืองไทยที่มีคุณภาพยิ่งซึ่งเขาจะนำความรู้พื้นฐานและประสบการณ์ในวัยเด็กไปใช้ในการเรียนรู้ความฉลาดสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมและสังคม ที่เป็นบุคคลและสิ่งของได้ดีตลอดจนสามารถจะแก้ปัญหาที่สำคัญได้ดีในอนาคต ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้จะเสริมสร้างคุณภาพของคนไทยพัฒนาทรัพยากรบุคคลของประเทศที่มีความสำคัญมากและท้ายสุดจะส่งเสริมพัฒนาประเทศไทยต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพพ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็กในครอบครัว มีความรู้ ความเข้าใจวิธีการกระตุ้นพัฒนาการและส่งเสริมการสร้างไอคิวอีคิวในเด็ก 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม.ในการกระตุ้น/ส่งเริมพัฒนาการ และเสริมสร้างไอคิว อีคิว เด็กในชุมชน ๓. เพื่อค้นหาเด็กที่เสี่ยงต่อพัฒนาการล่าช้า ได้รับการช่วยเหลือและส่งต่อโรงพยาบาล 4.เพื่อให้เด็ก0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์และไม่เกิดโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 120
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ประชากรกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องพัฒนาการเด็กในช่วง อายุ 0-5 ปี และสามรถเสริมสร้างพัฒนาการและไอคิว อีคิวในเด็กได้ ๒. ประชากรกลุ่มเป้าหมายสามารถค้นพบ และส่งต่อในกรณีเด็ก0-5 ปี ที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า ๓. กลุ่มเป้าหมายได้ตระหนักถึงการความสำคัญในการกระตุ้นพัฒนาการ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    จากการดำเนินโครงการกระตุ้นพัฒนาการหนูน้อยและเสริมสร้างไอคิว อีคิว ปี2560 มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถสังเกตพัฒนาการของลูกที่อาจจะสงสัยล่าช้า รู้วิธีการกระตุ้นในบางกิจกรรมที่ยังไม่สามารถทำได้ และมีการพามาพบแพทย์กรณีที่กระตุ้นแล้วไม่ดีขึ้น อสม.สามารถคัดกรองเด็กสงสัยพัฒนาการล่าช้า และมีการส่งต่อแก่เจ้าหน้าที่ โดยการค้นพบเด็กได้เร็ว สามารถที่จะช่วยเหลือเด็กได้ทันถ่วงที ใช้ภาคีมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ที่มีปัญหาเด็กในชุมชน และภาวะโภชนาการก็มีส่วนสำคัญในการที่จะสงเสริมให้เด็กมีพัฒนาการที่สมวัย โดยมีกิจกรรมทดสอบความรู้ก่อน-หลัง ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 120 คน จากการจัดโครงการ ได้มี อสม.และผู้ปกครอง ได้นำส่งที่ที่สงสัยเข้าคลินิกพัฒนาการจำนวน 15 ราย
    จำนวน 15 ราย 1.กระตุ้นด้วย TD4I จำนวน 5 ราย 2.ส่งกระตุ้น กายภาพ จำนวน 4 ราย 3.Refer รพศ.ยะลา จำนวน 2 ราย (แพทย์สงสัยเด็กสมาธิสั้น) 4.ฝึกผู้ปกครองกระตุ้นพัฒนาการที่บ้านและมาตามนัด จำนวน 6 ราย พบว่า ดีขึ้น  5 ราย และอีก 1 ราย ไม่ดีขึ้น วางแผนมาฝึกโดยเจ้าหน้าที่อีก 1 เดือน หากพบว่าไม่ดีขึ้น ส่งต่อทำ TD4I ส่งสัยล่า 3 อันดับแรก 1. ด้านการใช้ภาษา(RL ) จำนวน 7 ราย 2. ด้านกล้ามเนื้อหมัดใหญ่ (GM ) จำนวน 6 ราย 3.ด้านการเข้าใจภาษา(EL) จำนวน 5 ราย

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพพ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็กในครอบครัว มีความรู้ ความเข้าใจวิธีการกระตุ้นพัฒนาการและส่งเสริมการสร้างไอคิวอีคิวในเด็ก 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม.ในการกระตุ้น/ส่งเริมพัฒนาการ และเสริมสร้างไอคิว อีคิว เด็กในชุมชน ๓. เพื่อค้นหาเด็กที่เสี่ยงต่อพัฒนาการล่าช้า ได้รับการช่วยเหลือและส่งต่อโรงพยาบาล 4.เพื่อให้เด็ก0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์และไม่เกิดโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน
    ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ ความเข้าใจเรื่องการกระพัฒนาการเด็ก และไอคิว อีคิว ร้อยละ70 ๒. เด็กที่เสี่ยงต่อพัฒนาการล่าช้า ได้การรับส่งต่อและได้รับการช่วยเหลือ ร้อยละ ๗๐ ๓. เด็ก0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 ยกเว้น MMR

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 120
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพพ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็กในครอบครัว มีความรู้ ความเข้าใจวิธีการกระตุ้นพัฒนาการและส่งเสริมการสร้างไอคิวอีคิวในเด็ก 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม.ในการกระตุ้น/ส่งเริมพัฒนาการ และเสริมสร้างไอคิว อีคิว เด็กในชุมชน
    ๓. เพื่อค้นหาเด็กที่เสี่ยงต่อพัฒนาการล่าช้า ได้รับการช่วยเหลือและส่งต่อโรงพยาบาล 4.เพื่อให้เด็ก0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์และไม่เกิดโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการกระตุ้นพัฒนาการหนูน้อยและเสริมสร้างไอคิว อีคิว จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 60-L4150-1-16

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( น.ส.นูรยะห์ดอเล๊าะเซ็ง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด