โครงการแฟ้มคู่ใจ ห่วงใยสุขภาพชุมชน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการแฟ้มคู่ใจ ห่วงใยสุขภาพชุมชน ”
ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
น.ส.วิลดาดือราซอลีมา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการแฟ้มคู่ใจ ห่วงใยสุขภาพชุมชน
ที่อยู่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4150-1-18 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 มีนาคม 2560 ถึง 26 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแฟ้มคู่ใจ ห่วงใยสุขภาพชุมชน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแฟ้มคู่ใจ ห่วงใยสุขภาพชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแฟ้มคู่ใจ ห่วงใยสุขภาพชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4150-1-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 มีนาคม 2560 - 26 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขได้สนับสนุนให้หน่วยบริการดูแลในด้านการรักษาพยาบาล
สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขในพื้นที่ในด้านการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคการฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุกในพื้นที่ยังไม่ทั่วถึงและมีประสิทธิภาพเนื่องจากหน่วยบริการมีอุปสรรคในการดำเนินงานด้านบุคลากรเชิงรุกที่ยังไม่เพียงพอกับความต้องการอีกทั้งขาดแคลนงบประมาณในการพัฒนาระบบการให้บริการดังกล่าวข้างต้นให้มีคุณภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรังผู้สูงอายุและผู้พิการที่ไม่สามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้เสี่ยงเกิดภาวะแทรกซ้อนอันตรายเช่นโรคหลอดเลือดสมองแตก/ตีบ/ตัน โรคหัวใจ เกิดอัมพาตหรืออันตรายถึงชีวิตได้ในที่สุดกลายเป็นผู้ป่วยนอนติดเตียงที่บ้าน โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชยะหาได้ให้บริการดูแลประชาชนในเขตรับผิดชอบจำนวน4800คนและจำนวนหลังคาเรือนทั้งหมด1,496หลังคาเรือนซึ้งมีจำนวนมากและดูแลไม่ทั่วถึงจึงจำเป็นจะต้องมีผู้ช่วยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการดูแลประชาชนผู้ช่วยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ดีที่สุดคือ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชยะหาจึงเล็งเห็นว่าหากอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีทักษะการดูแลผู้ป่วยโดยการเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติจริงและการเก็บข้อมูลประชาชน ให้ครบถ้วน สมบูรณ์จึงได้จัดทำโครงการแฟ้มคู่ใจ ห่วงใยสุขภาพชุมชนขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. พัฒนาศักยภาพทีมหมอครอบครัวระดับชุมชนในการให้บริการดูแลสุขภาพเชิงรุกและเชิงรับ
2. เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานดูแลสุขภาพเบื้องต้นของชุมชนให้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข
อย่างมีประสิทธิภาพ
3. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนินงานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
4.เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ครอบครัว และชุมชนอย่างใกล้ชิดเข้าถึงเข้าใจโดยทีมหมอครอบครัว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
69
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ทีมหมอครอบครัวระดับชุมชนมีความรู้ในการให้บริการดูแลสุขภาพเชิงรุกและเชิงรับได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
2.มีแนวทางในการดำเนินงานดูแลสุขภาพเบื้องต้นของชุมชนให้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข
อย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างความมั่นใจในการทำงาน
3.อาสาสมัครสาธารณสุขได้มีมีแนวทางและสร้างความเข้าใจ ในการดำเนินงานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
4.ประชาชนได้รับการการดูแลสุขภาพที่บ้านรวมถึงการประสานส่งต่อเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทั้งปัญหาความ
เจ็บป่วยและดูแลด้านจิตใจ บรรเทาทุกข์ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ครอบครัว และชุมชนอย่าง
ใกล้ชิดเข้าถึงเข้าใจประชาชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ผลการดำเนินงาน
จากการดำเนินงาน โครงการแฟ้มคู่ใจ ห่วงใยสุขภาพชุมชน โดยมีวัตถุประสงค์ พัฒนาศักยภาพ
ทีมหมอครอบครัวระดับชุมชนในการให้บริการดูแลสุขภาพเชิงรุกและเชิงรับ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานดูแลสุขภาพเบื้องต้นของชุมชนให้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนินงานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ครอบครัว และชุมชนอย่างใกล้ชิดเข้าถึงเข้าใจโดยทีมหมอครอบครัว
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จำนวน 69 คน คิดเป็นร้อยละ 100 มีแฟ้มคู่ใจ ห่วงใยสุขภาพ ใช้ในการปฏิบัติงานเพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานดูแลสุขภาพเบื้องต้นของสมาชิกในครอบครัวระดับชุมชนในการให้บริการดูแลสุขภาพเชิงรุกและเชิงรับ เป็นคู่มือสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนินงานการส่งเสริม ป้องกันและฟื้นฟู ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน มีการสำรวจประชากรในเขตรับผิดชอบของตนเอง มีการติดตามวัคซีน ติดตามภาวะโภชนาการพัฒนาการในเด็กอายุ 0-5 ปี ติดตามหญิงมีครรภ์ผิดนัด คัดกรองเบาหวานความดัน ประชากร 35 ปีขึ้นไป ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม สตรีอายุ 30-70 ปี สำรวจลูกน้ำยุงลาย เยี่ยมบ้าน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. พัฒนาศักยภาพทีมหมอครอบครัวระดับชุมชนในการให้บริการดูแลสุขภาพเชิงรุกและเชิงรับ
2. เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานดูแลสุขภาพเบื้องต้นของชุมชนให้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข
อย่างมีประสิทธิภาพ
3. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนินงานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
4.เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ครอบครัว และชุมชนอย่างใกล้ชิดเข้าถึงเข้าใจโดยทีมหมอครอบครัว
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80ของอาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ในเรื่องการส่งเสริม ป้องกันและฟื้นฟู
สุขภาพในทุกกลุ่มวัยด้านกาย จิต สังคม
2. ร้อยละ 100ของอาสาสมัครสาธารณสุขมี “แฟ้มคู่ใจ ห่วงใยสุขภาพ ใช้ในการดำเนินงาน
3. ทุกหลังคาเรือนมีการติดสติกเกอร์บอกรายชื่อทีมหมอครอบครัวที่รับผิดชอบ
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
69
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
69
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. พัฒนาศักยภาพทีมหมอครอบครัวระดับชุมชนในการให้บริการดูแลสุขภาพเชิงรุกและเชิงรับ
2. เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานดูแลสุขภาพเบื้องต้นของชุมชนให้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข
อย่างมีประสิทธิภาพ
3. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนินงานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
4.เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ครอบครัว และชุมชนอย่างใกล้ชิดเข้าถึงเข้าใจโดยทีมหมอครอบครัว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการแฟ้มคู่ใจ ห่วงใยสุขภาพชุมชน จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4150-1-18
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( น.ส.วิลดาดือราซอลีมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการแฟ้มคู่ใจ ห่วงใยสุขภาพชุมชน ”
ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
น.ส.วิลดาดือราซอลีมา
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4150-1-18 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 มีนาคม 2560 ถึง 26 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแฟ้มคู่ใจ ห่วงใยสุขภาพชุมชน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแฟ้มคู่ใจ ห่วงใยสุขภาพชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแฟ้มคู่ใจ ห่วงใยสุขภาพชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4150-1-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 มีนาคม 2560 - 26 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขได้สนับสนุนให้หน่วยบริการดูแลในด้านการรักษาพยาบาล สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขในพื้นที่ในด้านการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคการฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุกในพื้นที่ยังไม่ทั่วถึงและมีประสิทธิภาพเนื่องจากหน่วยบริการมีอุปสรรคในการดำเนินงานด้านบุคลากรเชิงรุกที่ยังไม่เพียงพอกับความต้องการอีกทั้งขาดแคลนงบประมาณในการพัฒนาระบบการให้บริการดังกล่าวข้างต้นให้มีคุณภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรังผู้สูงอายุและผู้พิการที่ไม่สามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้เสี่ยงเกิดภาวะแทรกซ้อนอันตรายเช่นโรคหลอดเลือดสมองแตก/ตีบ/ตัน โรคหัวใจ เกิดอัมพาตหรืออันตรายถึงชีวิตได้ในที่สุดกลายเป็นผู้ป่วยนอนติดเตียงที่บ้าน โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชยะหาได้ให้บริการดูแลประชาชนในเขตรับผิดชอบจำนวน4800คนและจำนวนหลังคาเรือนทั้งหมด1,496หลังคาเรือนซึ้งมีจำนวนมากและดูแลไม่ทั่วถึงจึงจำเป็นจะต้องมีผู้ช่วยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการดูแลประชาชนผู้ช่วยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ดีที่สุดคือ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชยะหาจึงเล็งเห็นว่าหากอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีทักษะการดูแลผู้ป่วยโดยการเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติจริงและการเก็บข้อมูลประชาชน ให้ครบถ้วน สมบูรณ์จึงได้จัดทำโครงการแฟ้มคู่ใจ ห่วงใยสุขภาพชุมชนขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. พัฒนาศักยภาพทีมหมอครอบครัวระดับชุมชนในการให้บริการดูแลสุขภาพเชิงรุกและเชิงรับ 2. เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานดูแลสุขภาพเบื้องต้นของชุมชนให้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข อย่างมีประสิทธิภาพ 3. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนินงานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน 4.เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ครอบครัว และชุมชนอย่างใกล้ชิดเข้าถึงเข้าใจโดยทีมหมอครอบครัว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 69 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ทีมหมอครอบครัวระดับชุมชนมีความรู้ในการให้บริการดูแลสุขภาพเชิงรุกและเชิงรับได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
2.มีแนวทางในการดำเนินงานดูแลสุขภาพเบื้องต้นของชุมชนให้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข
อย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างความมั่นใจในการทำงาน
3.อาสาสมัครสาธารณสุขได้มีมีแนวทางและสร้างความเข้าใจ ในการดำเนินงานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
4.ประชาชนได้รับการการดูแลสุขภาพที่บ้านรวมถึงการประสานส่งต่อเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทั้งปัญหาความ
เจ็บป่วยและดูแลด้านจิตใจ บรรเทาทุกข์ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ครอบครัว และชุมชนอย่าง
ใกล้ชิดเข้าถึงเข้าใจประชาชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ผลการดำเนินงาน จากการดำเนินงาน โครงการแฟ้มคู่ใจ ห่วงใยสุขภาพชุมชน โดยมีวัตถุประสงค์ พัฒนาศักยภาพ ทีมหมอครอบครัวระดับชุมชนในการให้บริการดูแลสุขภาพเชิงรุกและเชิงรับ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานดูแลสุขภาพเบื้องต้นของชุมชนให้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนินงานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ครอบครัว และชุมชนอย่างใกล้ชิดเข้าถึงเข้าใจโดยทีมหมอครอบครัว อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จำนวน 69 คน คิดเป็นร้อยละ 100 มีแฟ้มคู่ใจ ห่วงใยสุขภาพ ใช้ในการปฏิบัติงานเพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานดูแลสุขภาพเบื้องต้นของสมาชิกในครอบครัวระดับชุมชนในการให้บริการดูแลสุขภาพเชิงรุกและเชิงรับ เป็นคู่มือสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนินงานการส่งเสริม ป้องกันและฟื้นฟู ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน มีการสำรวจประชากรในเขตรับผิดชอบของตนเอง มีการติดตามวัคซีน ติดตามภาวะโภชนาการพัฒนาการในเด็กอายุ 0-5 ปี ติดตามหญิงมีครรภ์ผิดนัด คัดกรองเบาหวานความดัน ประชากร 35 ปีขึ้นไป ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม สตรีอายุ 30-70 ปี สำรวจลูกน้ำยุงลาย เยี่ยมบ้าน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. พัฒนาศักยภาพทีมหมอครอบครัวระดับชุมชนในการให้บริการดูแลสุขภาพเชิงรุกและเชิงรับ
2. เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานดูแลสุขภาพเบื้องต้นของชุมชนให้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข
อย่างมีประสิทธิภาพ
3. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนินงานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
4.เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ครอบครัว และชุมชนอย่างใกล้ชิดเข้าถึงเข้าใจโดยทีมหมอครอบครัว ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80ของอาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ในเรื่องการส่งเสริม ป้องกันและฟื้นฟู สุขภาพในทุกกลุ่มวัยด้านกาย จิต สังคม 2. ร้อยละ 100ของอาสาสมัครสาธารณสุขมี “แฟ้มคู่ใจ ห่วงใยสุขภาพ ใช้ในการดำเนินงาน 3. ทุกหลังคาเรือนมีการติดสติกเกอร์บอกรายชื่อทีมหมอครอบครัวที่รับผิดชอบ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 69 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 69 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. พัฒนาศักยภาพทีมหมอครอบครัวระดับชุมชนในการให้บริการดูแลสุขภาพเชิงรุกและเชิงรับ
2. เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานดูแลสุขภาพเบื้องต้นของชุมชนให้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข
อย่างมีประสิทธิภาพ
3. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนินงานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
4.เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ครอบครัว และชุมชนอย่างใกล้ชิดเข้าถึงเข้าใจโดยทีมหมอครอบครัว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการแฟ้มคู่ใจ ห่วงใยสุขภาพชุมชน จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4150-1-18
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( น.ส.วิลดาดือราซอลีมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......