กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พิเทน


“ โครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ ”

ตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรอิสล์ หะยีแวเด็ง

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้

ที่อยู่ ตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L2989-1-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พิเทน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L2989-1-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พิเทน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็งเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย ทำให้เกิดการสูญเสียชีวิตของประชาชนและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเป็นจำนวนมาก ปัจจุบันโรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งในประเทศไทยและมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น โดยโรคมะเร็งที่พบมากที่สุดในประเทศไทย คือ โรคมะเร็งตับ รองลงมาคือมะเร็งปอด มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ ตามลำดับ
โรคมะเร็งปากมดลูกเป็นโรคมะเร็งที่พบเป็นอันดับหนึ่งในสตรีไทย มีผู้ป่วยรายใหม่  ปีละ ประมาณ ๖,๓๐๐ ราย พบมากที่สุดอายุระหว่างอายุ ๔๕-๕๐ ปี ระยะที่พบส่วนใหญ่อยู่ในระยะลุกลาม อัตราการอยู่รอด ๕ ประมาณร้อยละ ๖๐ จึงมีผู้ป่วยสะสมจำนานมาก คาดประมาณว่าจะมีผู้ป่วยใหม่และผู้ป่วยเก่าที่ต้องติดตามดูแลให้การรักษาไม่น้อยกว่า ๖๐,๐๐๐ คนทั่วประเทศ สำหรับโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ เป็นโรคมะเร็งที่พบเป็นอันดับสามในเพสชาย และอันดับสี่ในเพศหญิง ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ พบผู้ป่วยใหม่ปีละประมาณ ๑๐,๖๒๔ ราย โดยในแต่ละปีจะมีผู้เสียวชีวิตจากมะเร็งลำไส้ใหญ่ประมาณ ๓,๐๐๐ ราย (สถาบันมะเร็งแห่งชาติ, ๒๕๕๐) สำหรับ รพ. สต. จากการรวบรวมข้อมูล ๓ ปี ย้อนหลังตั้งปี 2559 – 2561 พบผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก จำนวน 5 ราย ในขณะเดียวกันการตรวจคัดกรองและการวินิจฉัยในระยะเริ่มแรก และให้การรักษาผู้ที่มีความผิดปกติของปากมดลูกและลำไส้ตั้งแต่ระยะก่อนเป็นมะเร็งตามขั้นตอนที่ถูกต้อง เหมาะสม สามารถลดอุบัติการณ์และอัตราการตายได้ และยังเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าในระยะลุกลาม ซึ่งโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพิเทน ได้ดำเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ ๓๐ – ๖๐ ปี และดำเนินการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ในกลุ่มอายุ ๕๐ - ๗๐ ปี พบว่า กลุ่มเป้าหมายมะเร็งปากมดลูกได้ตรวจคัดกรอง จำนวน ๒๒๒ ราย คิดเป็นร้อยละ ๑๙.๓๕ และกลุ่มเป้าหมายมะเร็งลำไส้ได้ตรวจคัดกรอง จำนวน ๗๐ ราย คิดเป็นร้อยละ ๖.๐๒ จะเห็นได้ว่า การตรวจคัดกรองยังไม่ความครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งอาจทำให้ไม่สามารถค้นหาผู้ป่วยในระยะเริ่มแรกได้และผู้ป่วยไม่ได้รับการรักษาได้ทันท่วงที
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพิเทน ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงควรดำเนินการจัดทำโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ขึ้น เพื่อให้ประชาชนในกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองอย่างทั่วถึงและครอบคลุม โดยการสร้างความร่วมมือจากอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้านและเครือข่ายต่าง ๆ ในชุมชน ทำให้กลุ่มเป้าหมายทราบสถานะสุขภาพของตนเองและสามารถป้องกันการเกิดโรคมะเร็งดังกล่าวได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ๔.๑ จัดประชุมเพื่อกำหนดวิธีการดำเนินการคัดกรอง มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลำไส้ แก่แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุข ๔.๒ จัดทำทะเบียนผู้มารับการตรวจคัดกรอง ๔.๓ ดำเนินการติดตามกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ๔.๔ ดำเนินการติดตามกลุ่มเป้าหมายเข้ารับกา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 1,308
กลุ่มผู้สูงอายุ 1,092
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๘.๑ กลุ่มเป้าหมายมีความตระหนักและเห็นความสำคัญของการเข้ารับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ ทำให้ได้เข้ารับการคัดกรองได้อย่างครอบคลุม ๘.๒ กลุ่มป่วยหรือกลุ่มสงสัยได้รับการส่งต่อพบแพทย์เพื่อรับการรักษาได้ทันท่วงที ๘.๓ เครือข่ายต่าง ๆ ในชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาระบบการป้องกันการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2400
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 1,308
กลุ่มผู้สูงอายุ 1,092
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๔.๑ จัดประชุมเพื่อกำหนดวิธีการดำเนินการคัดกรอง มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลำไส้ แก่แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุข ๔.๒ จัดทำทะเบียนผู้มารับการตรวจคัดกรอง ๔.๓ ดำเนินการติดตามกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ๔.๔ ดำเนินการติดตามกลุ่มเป้าหมายเข้ารับกา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L2989-1-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูรอิสล์ หะยีแวเด็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด