กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พิเทน


“ โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค ๓ อ. ๒ ส. ตามวิถีชุมชน.. ”

ตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอัสมาศ แยนะ

ชื่อโครงการ โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค ๓ อ. ๒ ส. ตามวิถีชุมชน..

ที่อยู่ ตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L-2989-1-14 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มิถุนายน 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค ๓ อ. ๒ ส. ตามวิถีชุมชน.. จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พิเทน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค ๓ อ. ๒ ส. ตามวิถีชุมชน..



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค ๓ อ. ๒ ส. ตามวิถีชุมชน.. " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L-2989-1-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 มิถุนายน 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พิเทน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันทั่วโลกกำลังเร่งรณรงค์ต่อสู้กับปัญหาทางพฤติกรรมสุขภาพ ซึ่งเป็นปัจจัยสำไปสู่การเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด และภาวะไตวายเรื้อรัง เป็นต้น ซึ่งเป็นภัยคุกคามที่กำลังระบาดในกลุ่มคนไทย โดยวัดจากอัตราการเสียชีวิตที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ จากผลการคัดกรองกลุ่มประชาชนอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป เขตตำบลพิเทน โดยอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน พบว่า จากกลุ่มเป้าหมายที่ได้คัดกรองโรคเบาหวานทั้งหมด ๒,๒๔๐ คน พบ กลุ่มปกติ ร้อยละ ๙๔.๘๒ กลุ่มเสี่ยงร้อยละ ๔.๓๓ กลุ่มสงสัยร้อยละ ๐.๕๔ และกลุ่มเป้าหมายที่ได้คัดกรองโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด ๑,๙๕๓ คน พบกลุ่มปกติ ร้อยละ ๕๐.๑๘ กลุ่มเสี่ยงร้อยละ ๓๙.๔๓ กลุ่มสงสัยร้อยละ ๑๐.๒๔
ซึ่งปัญหาดังกล่าวเกิดจากการมีวิถีชีวิตที่มีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเร่งรีบกับการทำงาน บริโภคอาหารโดยไม่ได้คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย เครียด ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อ การเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข อีกทั้งยังเป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วม และเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ในขณะเดียวกันกลุ่มโรคนี้สามารถป้องกันได้โดยมุ่งสร้างการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก ๓ อ. ๒ ส. ส่งเสริมให้มีการรวมกลุ่มและพัฒนาศักยภาพในรูปแบบของชมรม มีเครือข่ายที่เข้มแข็งในการทำกิจกรรมต่าง ๆร่วมกัน อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ประชาชนกลุ่มวัยทำงานมีการพัฒนาสุขภาพกาย จิตใจ สังคมและจิตวิญญาณ
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพิเทนตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค ๓ อ. ๒ ส. ตามวิถีชุมชนขึ้น  เป็นหมู่บ้านตัวอย่างเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกระดับในการสร้างเสริมความเข้มแข็งของชุมชน การพัฒนาทักษะส่วนบุคคลให้สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการการมีสุขภาพกาย ใจ ที่ดีอย่างต่อเนื่อง อันจะส่งผลทำให้ประชาชนชาวตำบลพิเทนลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง ดำรงชีวิตอย่างมีความสุข ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.๑ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีความรู้และทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเองที่เหมาะสม ตามวิถีชุมชน ๒.๒ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง สามารถลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 40
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๘.๑ ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีความรู้และทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและสามารถปรับเปลี่ยนสุขภาพให้ดีขึ้นได้
    ๘.๒ ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง สามารถลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้องรังได้ ทำให้ลดจำนวนผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังรายใหม่ จนส่งผลทำให้มีสุขภาพดีทั้งกายและใจ
    ๘.๓ เครือข่ายต่าง ๆ ในชุมชน มีการเรียนรู้จากกระบวนการทำงาน ทำให้มีการพัฒนาให้มีความเข้มแข็งมากยิ่งขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑.๑ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีความรู้และทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเองที่เหมาะสม ตามวิถีชุมชน ๒.๒ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง สามารถลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้
    ตัวชี้วัด :
    13500.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 40
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.๑ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีความรู้และทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเองที่เหมาะสม ตามวิถีชุมชน ๒.๒  เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง สามารถลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค ๓ อ. ๒ ส. ตามวิถีชุมชน.. จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 62-L-2989-1-14

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวอัสมาศ แยนะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด