โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครคัดกรองวัณโรค-เอดส์
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครคัดกรองวัณโรค-เอดส์ ”
ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายพาซีนิเดร์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครคัดกรองวัณโรค-เอดส์
ที่อยู่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4150-1-20 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 มีนาคม 2560 ถึง 26 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครคัดกรองวัณโรค-เอดส์ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครคัดกรองวัณโรค-เอดส์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครคัดกรองวัณโรค-เอดส์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4150-1-20 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 มีนาคม 2560 - 26 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัณโรค (Tuberculosis:TB) เป็นโรคติดต่อที่กำลังเป็นปัญหาสำคัญด้านสาธารณสุข เป็นสาเหตุของการป่วย และการเสียชีวิตในหลายๆ ประเทศทั่วโลก อีกทั้งปัจจุบันการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ทำให้ปัญหาวัณโรคมีความรุนแรงเพิ่มขึ้น วัณโรคจึงนับเป็นปัญหาที่ท้าทายต่อวงการสาธารณสุขของประเทศต่างๆ (กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข,๒๕๔๘)
ปัจจุบันทั่วโลกมีผู้ที่ติดเชื้อวัณโรคประมาณ ๒ พันล้านคน หรือเกือบ ๑ ใน ๓ ของประชากรโลก มีผู้ป่วยวัณโรคเสียชีวิต ๑.๙๐ ล้านคนในแต่ละปี ประเทศไทยมีปัจจัยหลายอย่างที่เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินงาน และการขยายงานในการควบคุมวัณโรค ทั้งปัจจัยด้านผู้ป่วย สิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ เช่น ความยากจน การด้อยโอกาสทางการศึกษา ชุมชนแออัด ปัญหายาเสพติด แรงงานย้ายถิ่น แรงงานต่างชาติผิดกฎหมาย ความแออัดของผู้ต้องขังในเรือนจำ เป็นต้น จากการคำนวณทางระบาดวิทยาในรายงานขององค์การอนามัยโลกคาดว่า ประเทศไทยน่าจะมีผู้ป่วยรายใหม่ทุกประเภทประมาณ ๙๒,๓๐๐ คน ในจำนวนนี้ประมาณครึ่งหนึ่ง หรือ ๔๔,๔๗๕ คนเป็นผู้ป่วยที่สามารถแพร่เชื้อได้ และมีผู้ป่วยวัณโรคเสียชีวิตปีละ ๑๒,๐๘๙ ราย นอกจากนี้ยังพบว่าผู้ป่วยโรคเอดส์รายใหม่ตรวจพบวัณโรคร่วมด้วย ประมาณร้อยละ ๑๗ (สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, ๒๕๕๓)
อำเภอยะหา จำนวนผู้ป่วยวัณโรคทั้งหมดในปี พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๕๙ จำนวน ๓๓ , ๓๓และ๓๒ ราย อัตราความสำเร็จของการรักษา (Success Rate) ร้อยละ ๙๐.๐๐๘๑.๒๕และ ๘๑.๓๐ อย่างไรก็ตามยังพบว่าความครอบคลุมของการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคใหม่เสมหะพบเชื้อ (TB case detection)ปี ๒๕๕๗ ไม่บรรลุเป้าหมาย (ร้อยละ ๗๐) ซึ่งต้องเร่งรัดในการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มประชากรด้อยโอกาส และกลุ่มเสี่ยงต่างๆให้คลอบคลุม รวมทั้งการทำงานแบบผสมผสานวัณโรค และโรคเอดส์อย่างจริงจัง เพื่อลดอัตราการตายของผู้ป่วย อีกทั้งป้องกันปัญหาวัณโรคดื้อยาหลายขนานอีกด้วย
อาสาสมัครสาธารณสุขเป็นตัวแทนประชาชนที่ได้รับการยอมรับจากชุมชนเป็นอย่างดี ให้เอื้อต่อการป้องกันวัณโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ นับเป็นแกนนำด้านสุขภาพที่มีความสำคัญในชุมชน ควรได้รับการพัฒนาศักยภาพจากหน่วยงานสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง ทำให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการติดต่อของโรค การดูแลและรักษาพยาบาล อันตรายของโรค การป้องกันและควบคุมโรคที่ดีระดับหนึ่ง ทำให้มีความเป็นไปได้ในการมีส่วนร่วมเพื่อแก้ไขปัญหาวัณโรคในชุมชนตนเอง นอกจากเป็นการส่งเสริมศักยภาพของชุมชนเองแล้ว ยังเป็นทางเลือกที่จะช่วยแบ่งเบาภาระของบุคลากรทางการแพทย์ สาธารณสุข และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในการป้องกันและแก้ไขปัญหาวัณโรค แก้ไขปัญหาวัณโรค ด้วยชุมชน และเพื่อชุมชนตนเอง
ดังนั้นเพื่อผลสำเร็จในการดำเนินงานวัณโรคดังกล่าวจึงจัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครคัดกรองวัณโรค-เอดส์ตำบลยะหาอำเภอยะหา จังหวัดยะลา ประจำปีงบประมาณ 2560 เพื่อให้มีประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมายจึงต้องมีส่วนร่วมในการป้องกันวัณโรค
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อเพิ่มศักยภาพอาสาสมัครในการคัดกรอง ดูแลผู้ป่วยในชุมชน
2 เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ และค้นหาผู้ป่วยรายใหม่
3 เพื่อการมีส่วนร่วมของแกนนำอาสาสมัคร ผู้นำชุมชนในการดูแลครอบครัวผู้ป่วย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
40
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
40
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1อัตราการค้นพบผู้ป่วยวัณโรคและโรคเอดส์เพิ่มขึ้น
2อัตราความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคและโรคเอดส์เพิ่มขึ้น
3. ผู้สัมผัสร่วมบ้านวัณโรค ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองเพิ่มขึ้น
4. ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ได้รับการคัดกรองเอชไอวีทุกราย
5. แกนนำอาสาสมัครมีความรู้เรื่องโรควัณโรคและโรคเอดส์เพิ่มมากขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมที่ 1จัดอมรมเชิงปฏิบัติการ การคักรองวัณโรค-เอดส์แก่ผู้ดูแลผู้ป่วย แกนนำในชุมชน อสม.
ในวันที่ 26 มิถุนายน 2560
กิจกรรมที่ 2 รณรงค์เนื่องในวันวัณโรคโลกและเอดส์โลก
ในวันที่ 23 มีนาคม 2560
กิจกรรมบรรลุตามวัตถุประสงค์
1.หลังอบรมอาสาสมัครและแกนนำชุมชนมีความรู้การคัดกรองวัณโรค และทักษะการป้องกันการติเชื้อผู้ป่วยวัณโรค-เอดส์ ร้อยละ 80
2.หลังอบรมผู้ดูแลผู้ป่วยวัณโรค-เอดส์มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการสร้างแรงจูงใจในการดูแลผู้ป่วยได้ถูกต้อง ร้อยละ 80
3.อัตราการค้นพบผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นร้อยละ 10
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1 เพื่อเพิ่มศักยภาพอาสาสมัครในการคัดกรอง ดูแลผู้ป่วยในชุมชน
2 เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ และค้นหาผู้ป่วยรายใหม่
3 เพื่อการมีส่วนร่วมของแกนนำอาสาสมัคร ผู้นำชุมชนในการดูแลครอบครัวผู้ป่วย
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 100 ของ อาสาสมัครคัดกรองวัณโรค-เอดส์ตามเป้าหมายได้รับการอบรม และร้อยละ 50 มีศักยภาพในการคัดกรองวัณโรค-เอดส์ และวิธีป้องกันการแพร่กระจายเชื้อในชุมชน
ผู้ดูแลผู้ป่วยโรควัณโรค (TB) , ผู้ดูแลผู้ป่วยเอดส์ (HIV) , แกนนำอาสาสมัครในชุมชน จำนวน80คน ต้องได้รับการอบรม จำนวน 80 คน
อาสาสมัครคัดกรองวัณโรค-เอดส์ จำนวน80คน มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเองของสมาชิกในครอบครัว 40คน
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
80
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
40
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
40
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อเพิ่มศักยภาพอาสาสมัครในการคัดกรอง ดูแลผู้ป่วยในชุมชน
2 เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ และค้นหาผู้ป่วยรายใหม่
3 เพื่อการมีส่วนร่วมของแกนนำอาสาสมัคร ผู้นำชุมชนในการดูแลครอบครัวผู้ป่วย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครคัดกรองวัณโรค-เอดส์ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4150-1-20
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายพาซีนิเดร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครคัดกรองวัณโรค-เอดส์ ”
ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายพาซีนิเดร์
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4150-1-20 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 มีนาคม 2560 ถึง 26 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครคัดกรองวัณโรค-เอดส์ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครคัดกรองวัณโรค-เอดส์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครคัดกรองวัณโรค-เอดส์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4150-1-20 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 มีนาคม 2560 - 26 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัณโรค (Tuberculosis:TB) เป็นโรคติดต่อที่กำลังเป็นปัญหาสำคัญด้านสาธารณสุข เป็นสาเหตุของการป่วย และการเสียชีวิตในหลายๆ ประเทศทั่วโลก อีกทั้งปัจจุบันการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ทำให้ปัญหาวัณโรคมีความรุนแรงเพิ่มขึ้น วัณโรคจึงนับเป็นปัญหาที่ท้าทายต่อวงการสาธารณสุขของประเทศต่างๆ (กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข,๒๕๔๘)
ปัจจุบันทั่วโลกมีผู้ที่ติดเชื้อวัณโรคประมาณ ๒ พันล้านคน หรือเกือบ ๑ ใน ๓ ของประชากรโลก มีผู้ป่วยวัณโรคเสียชีวิต ๑.๙๐ ล้านคนในแต่ละปี ประเทศไทยมีปัจจัยหลายอย่างที่เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินงาน และการขยายงานในการควบคุมวัณโรค ทั้งปัจจัยด้านผู้ป่วย สิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ เช่น ความยากจน การด้อยโอกาสทางการศึกษา ชุมชนแออัด ปัญหายาเสพติด แรงงานย้ายถิ่น แรงงานต่างชาติผิดกฎหมาย ความแออัดของผู้ต้องขังในเรือนจำ เป็นต้น จากการคำนวณทางระบาดวิทยาในรายงานขององค์การอนามัยโลกคาดว่า ประเทศไทยน่าจะมีผู้ป่วยรายใหม่ทุกประเภทประมาณ ๙๒,๓๐๐ คน ในจำนวนนี้ประมาณครึ่งหนึ่ง หรือ ๔๔,๔๗๕ คนเป็นผู้ป่วยที่สามารถแพร่เชื้อได้ และมีผู้ป่วยวัณโรคเสียชีวิตปีละ ๑๒,๐๘๙ ราย นอกจากนี้ยังพบว่าผู้ป่วยโรคเอดส์รายใหม่ตรวจพบวัณโรคร่วมด้วย ประมาณร้อยละ ๑๗ (สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, ๒๕๕๓)
อำเภอยะหา จำนวนผู้ป่วยวัณโรคทั้งหมดในปี พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๕๙ จำนวน ๓๓ , ๓๓และ๓๒ ราย อัตราความสำเร็จของการรักษา (Success Rate) ร้อยละ ๙๐.๐๐๘๑.๒๕และ ๘๑.๓๐ อย่างไรก็ตามยังพบว่าความครอบคลุมของการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคใหม่เสมหะพบเชื้อ (TB case detection)ปี ๒๕๕๗ ไม่บรรลุเป้าหมาย (ร้อยละ ๗๐) ซึ่งต้องเร่งรัดในการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มประชากรด้อยโอกาส และกลุ่มเสี่ยงต่างๆให้คลอบคลุม รวมทั้งการทำงานแบบผสมผสานวัณโรค และโรคเอดส์อย่างจริงจัง เพื่อลดอัตราการตายของผู้ป่วย อีกทั้งป้องกันปัญหาวัณโรคดื้อยาหลายขนานอีกด้วย
อาสาสมัครสาธารณสุขเป็นตัวแทนประชาชนที่ได้รับการยอมรับจากชุมชนเป็นอย่างดี ให้เอื้อต่อการป้องกันวัณโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ นับเป็นแกนนำด้านสุขภาพที่มีความสำคัญในชุมชน ควรได้รับการพัฒนาศักยภาพจากหน่วยงานสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง ทำให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการติดต่อของโรค การดูแลและรักษาพยาบาล อันตรายของโรค การป้องกันและควบคุมโรคที่ดีระดับหนึ่ง ทำให้มีความเป็นไปได้ในการมีส่วนร่วมเพื่อแก้ไขปัญหาวัณโรคในชุมชนตนเอง นอกจากเป็นการส่งเสริมศักยภาพของชุมชนเองแล้ว ยังเป็นทางเลือกที่จะช่วยแบ่งเบาภาระของบุคลากรทางการแพทย์ สาธารณสุข และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในการป้องกันและแก้ไขปัญหาวัณโรค แก้ไขปัญหาวัณโรค ด้วยชุมชน และเพื่อชุมชนตนเอง
ดังนั้นเพื่อผลสำเร็จในการดำเนินงานวัณโรคดังกล่าวจึงจัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครคัดกรองวัณโรค-เอดส์ตำบลยะหาอำเภอยะหา จังหวัดยะลา ประจำปีงบประมาณ 2560 เพื่อให้มีประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมายจึงต้องมีส่วนร่วมในการป้องกันวัณโรค
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อเพิ่มศักยภาพอาสาสมัครในการคัดกรอง ดูแลผู้ป่วยในชุมชน 2 เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ และค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ 3 เพื่อการมีส่วนร่วมของแกนนำอาสาสมัคร ผู้นำชุมชนในการดูแลครอบครัวผู้ป่วย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 40 | |
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1อัตราการค้นพบผู้ป่วยวัณโรคและโรคเอดส์เพิ่มขึ้น 2อัตราความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคและโรคเอดส์เพิ่มขึ้น 3. ผู้สัมผัสร่วมบ้านวัณโรค ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองเพิ่มขึ้น 4. ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ได้รับการคัดกรองเอชไอวีทุกราย 5. แกนนำอาสาสมัครมีความรู้เรื่องโรควัณโรคและโรคเอดส์เพิ่มมากขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมที่ 1จัดอมรมเชิงปฏิบัติการ การคักรองวัณโรค-เอดส์แก่ผู้ดูแลผู้ป่วย แกนนำในชุมชน อสม.
ในวันที่ 26 มิถุนายน 2560
กิจกรรมที่ 2 รณรงค์เนื่องในวันวัณโรคโลกและเอดส์โลก
ในวันที่ 23 มีนาคม 2560
กิจกรรมบรรลุตามวัตถุประสงค์
1.หลังอบรมอาสาสมัครและแกนนำชุมชนมีความรู้การคัดกรองวัณโรค และทักษะการป้องกันการติเชื้อผู้ป่วยวัณโรค-เอดส์ ร้อยละ 80
2.หลังอบรมผู้ดูแลผู้ป่วยวัณโรค-เอดส์มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการสร้างแรงจูงใจในการดูแลผู้ป่วยได้ถูกต้อง ร้อยละ 80
3.อัตราการค้นพบผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นร้อยละ 10
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1 เพื่อเพิ่มศักยภาพอาสาสมัครในการคัดกรอง ดูแลผู้ป่วยในชุมชน
2 เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ และค้นหาผู้ป่วยรายใหม่
3 เพื่อการมีส่วนร่วมของแกนนำอาสาสมัคร ผู้นำชุมชนในการดูแลครอบครัวผู้ป่วย ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 100 ของ อาสาสมัครคัดกรองวัณโรค-เอดส์ตามเป้าหมายได้รับการอบรม และร้อยละ 50 มีศักยภาพในการคัดกรองวัณโรค-เอดส์ และวิธีป้องกันการแพร่กระจายเชื้อในชุมชน ผู้ดูแลผู้ป่วยโรควัณโรค (TB) , ผู้ดูแลผู้ป่วยเอดส์ (HIV) , แกนนำอาสาสมัครในชุมชน จำนวน80คน ต้องได้รับการอบรม จำนวน 80 คน อาสาสมัครคัดกรองวัณโรค-เอดส์ จำนวน80คน มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเองของสมาชิกในครอบครัว 40คน |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 80 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 40 | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อเพิ่มศักยภาพอาสาสมัครในการคัดกรอง ดูแลผู้ป่วยในชุมชน 2 เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ และค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ 3 เพื่อการมีส่วนร่วมของแกนนำอาสาสมัคร ผู้นำชุมชนในการดูแลครอบครัวผู้ป่วย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครคัดกรองวัณโรค-เอดส์ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4150-1-20
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายพาซีนิเดร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......