กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ ”

ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
ชมรมผู้สูงอายุบ้านสะหริ่ง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ

ที่อยู่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2482-3-3 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2482-3-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,250.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยมีข้อมูลประชากรผู้สูงอายุ ที่ชี้ให้เห็นว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ความสำเร็จจากนโยบายรณรงค์วางแผนครอบครัวผนวกกับความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์และสาธารณสุขที่นำมาใช้อย่างกว้างขวางตลอดระยะเวลากว่า 40 ปีที่ผ่านมา ได้ส่งผลต่อโครงสร้างประชากรของสังคมไทยที่มีแนวโน้มจะมีผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น ขณะเดียวกันวัยแรงงานอันเป็นกำลังหลักที่จะต้องรับภาระในการดูแลผู้สูงอายุมีสัดส่วนที่ลดลง สถานการณ์ดังกล่าวย่อมส่งผลกระทบต่อแนวงทางในการดูแลผู้สูงอายุให้สามารถดำรงชีวิตภายใต้คุณภาพชีวิตที่ดีของภาครัฐ ซึ่งจำเป็นต้องอาศัยงบประมาณจำนวนมาก เนื่องจากผู้สูงอายุเป็นวัยที่ร่างกายเริ่มถดถอยและเสื่อมลง ส่งผลให้เกิดภาวะโรคภัยไข้เจ็บเบียดเบียนมากขึ้น นอกจากนั้นหากผู้สูงอายุท่านใดที่ประสบปัญหาด้านเศรษฐกิจมาก่อนย่อมส่งผลกระทบมากขึ้นทั้งต่อร่างกาย จิตใจ และสังคมตามไปด้วยจึงมีการสนับสนุนแนวทางให้ผู้สูงอายุมรการรวมตัวจัดตั้งเป็นชมรมผู้สูงอายุขึ้น จากสถานการณ์ผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นนี้ทำให้เกิดภาวะพึ่งพิงสูงมากขึ้น โดยเฉพาะผู้สูงอายุมักมีปัญหาด้านสุขภาพตามมาได้แก่ ปัญหาการได้ยินและการมองเห็น การสื่อสาร การเคลื่อนไหวร่างกายและอุบัติเหตุ ปัญหาในการขบเคี้ยวอาหารและการขับถ่าย ปัญหาสภาพจิตใจ โรคสมองเสื่อม ปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังที่พบมาก 3 อันดับแรกในผู้สูงอายุได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 31.7 โรคเบาหวาน ร้อยละ 13.3 และโรคหัวใจ ร้อยละ 7 (มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย 2553) นอกจากนั้นมีโรคอัมพฤกษ์/อัมพาต โรคหลอดเลือดสมองตีบ โรคมะเร็ง ส่วนโรคที่ทำให้ผู้สูงอายุต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลมากที่สุดคือ โรคความดันโลหิตสูง ซึ่งโรคเรื้อรังที่คุกคามภาวะสุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุไทย ซึ่งจะส่งผลกระทบทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม การส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) เป็นภารกิจหนึ่งที่สำคัญ ที่จะส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพ โรงพยาบลาส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกยาง จึงเห็นความสำคัญและความจำเป็นในการดูแลผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพสมาชิกชมรมผู้สูงอายุขึ้น เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการดำเนินงานในชมรมผู้สูงอายุ และเพื่อป้องกันปัญหาการเจ็บป่วยเรื้อรังของผู้สูงอายุและความพิการที่จะตามมาและเสริมสร้างพลังกลุ่มต่างๆองค์กรที่มีส่วนเกี่ยวข้องในชุมชนตั้งแต่ตัวของผู้ป่วย ผู้ดูแล กลุ่มอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุและกลุ่มจิตอาสาอื่นๆให้มีส่วนร่วมในการหาแนวทางในการดูแล การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนอันจะส่งผลให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลที่ตรงตามปัญหาและความต้องการและสอดคล้องกับวิถีชีวิตและบริบทของชุมชนการดูแลผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องและการดูแลระยะยาวเพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาวะและคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการดูแลตนเองตามรูปแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอย่างต่อเนื่อง
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการพบปะสังสรรค์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการปฏิบัติตนตามหลัก 3 อ 2 ส และสามารถนำไปเผยแพร่ต่อภายในชุมชนได้
  3. เพื่อให้ชมรมผู้สูงอายุสามารถดำเนินกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพได้อย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในแต่ละเดือน
  2. อุปกรณ์สำหรับการออกกำลังกาย
  3. ป้ายประชาสัมพันธ์
  4. ป้ายไวนิลปิงปอง 7 สี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 150
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีชมรมนำร่องที่มีการดูแลผู้สูงอายุที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับผู้สูงอายุและครอบครัว
  2. มีการดูแลผู้สูงอายุแบบบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้สูงอายุ และครอบครัว
  3. ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมและเพิ่มคุณค่าของผู้สูงอายุที่มีศักยภาพในการดูแลตนเองร่วมกับครอบครัวมากยิ่งขึ้น
  4. มีชมรมผู้สูงอายุที่มีกิจกรรมต่อเนื่อง มีการเชื่อมประสานกับเครือข่ายและหน่วยงานราชการที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดูแลผู้สูงอายุทั้งด้านสุขภาพ จิต สังคมและจิตวิญญาณ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในแต่ละเดือน

วันที่ 16 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. เจ้าหน้าที่ประชุมเพื่อจัดทำแผนการดำเนินงานร่วมกันในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
  2. จัดทำโครงการเพื่อเสนอขอพิจารณาอนุมัติ
  3. สถานบริการสาธารณสุขดำเนินกิจกรรมตามแผนงาน
  4. สำรวจกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุ และจำแนกประเภทโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
  5. จัดกิจกรรมสันทนาการ มรการพบปะสังสรรค์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามหลัก 6 อ. 3 เดือน/ครั้ง
  6. จัดกิจกรรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ หลัก 6 อ. แก่กลุ่มเป้าหมาย มีเนื้อหาดังนี้
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกับดอกไม้ 7 สี
    • อาหาร การดูแลเรื่องสุขภาพในช่องปาก
    • การฝึกทักษะออกกำลังกายด้วยวิธีต่างๆที่ถูกต้อง เช่น การยืดเหยียด รำไม้พลอง ฯลฯ
    • การจัดการกับอารมณ์ การจัดการกับความเครียด การเข้าหาธรรมะหรือศาสนา
    • อนามัยสิ่งแวดล้อม สภาพแวดล้อมในบ้านที่ดีเอื่อต่อการมีสุขภาพผู้สูงอายุ
    • อบายมุข การละลดเลิกบุหรี่ และแอลกอฮอล์
  7. ตรวจประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ ได้แก่ ชั่งน้ำหนัก วัดความดันโลหิต ตรวจฟัน ประเมินภาวะสุขภาพกายและจิตโดยบุคลากรสาธารณสุข อสม.และกลุ่มจิตอาสาดูแลผู้สูงอายุ
  8. ผู้สูงอายุต้นแบบระดับรพ.สต.รับการประเมิน ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว จำนวน 1 ชมรม
  9. เยี่ยมเยียนผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสุขภาพอย่างน้อยคนละ 1 ครั้ง
  10. สรุปและประเมินผลการดำเนินงานทุกเดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีชมรมนำร่องที่มีการดูแลผู้สูงอายุที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับผู้สูงอายุและครอบครัว
  2. มีการดูแลผู้สูงอายุแบบบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้สูงอายุ และครอบครัว
  3. ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมและเพิ่มคุณค่าของผู้สูงอายุที่มีศักยภาพในการดูแลตนเองร่วมกับครอบครัวมากยิ่งขึ้น
  4. มีชมรมผู้สูงอายุที่มีกิจกรรมต่อเนื่อง มีการเชื่อมประสานกับเครือข่ายและหน่วยงานราชการที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดูแลผู้สูงอายุทั้งด้านสุขภาพ จิต สังคมและจิตวิญญาณ

 

150 0

2. อุปกรณ์สำหรับการออกกำลังกาย

วันที่ 16 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. เจ้าหน้าที่ประชุมเพื่อจัดทำแผนการดำเนินงานร่วมกันในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
  2. จัดทำโครงการเพื่อเสนอขอพิจารณาอนุมัติ
  3. สถานบริการสาธารณสุขดำเนินกิจกรรมตามแผนงาน
  4. สำรวจกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุ และจำแนกประเภทโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
  5. จัดกิจกรรมสันทนาการ มรการพบปะสังสรรค์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามหลัก 6 อ. 3 เดือน/ครั้ง
  6. จัดกิจกรรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ หลัก 6 อ. แก่กลุ่มเป้าหมาย มีเนื้อหาดังนี้
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกับดอกไม้ 7 สี
    • อาหาร การดูแลเรื่องสุขภาพในช่องปาก
    • การฝึกทักษะออกกำลังกายด้วยวิธีต่างๆที่ถูกต้อง เช่น การยืดเหยียด รำไม้พลอง ฯลฯ
    • การจัดการกับอารมณ์ การจัดการกับความเครียด การเข้าหาธรรมะหรือศาสนา
    • อนามัยสิ่งแวดล้อม สภาพแวดล้อมในบ้านที่ดีเอื่อต่อการมีสุขภาพผู้สูงอายุ
    • อบายมุข การละลดเลิกบุหรี่ และแอลกอฮอล์
  7. ตรวจประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ ได้แก่ ชั่งน้ำหนัก วัดความดันโลหิต ตรวจฟัน ประเมินภาวะสุขภาพกายและจิตโดยบุคลากรสาธารณสุข อสม.และกลุ่มจิตอาสาดูแลผู้สูงอายุ
  8. ผู้สูงอายุต้นแบบระดับรพ.สต.รับการประเมิน ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว จำนวน 1 ชมรม
  9. เยี่ยมเยียนผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสุขภาพอย่างน้อยคนละ 1 ครั้ง
  10. สรุปและประเมินผลการดำเนินงานทุกเดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีชมรมนำร่องที่มีการดูแลผู้สูงอายุที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับผู้สูงอายุและครอบครัว
  2. มีการดูแลผู้สูงอายุแบบบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้สูงอายุ และครอบครัว
  3. ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมและเพิ่มคุณค่าของผู้สูงอายุที่มีศักยภาพในการดูแลตนเองร่วมกับครอบครัวมากยิ่งขึ้น
  4. มีชมรมผู้สูงอายุที่มีกิจกรรมต่อเนื่อง มีการเชื่อมประสานกับเครือข่ายและหน่วยงานราชการที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดูแลผู้สูงอายุทั้งด้านสุขภาพ จิต สังคมและจิตวิญญาณ

 

0 0

3. ป้ายประชาสัมพันธ์

วันที่ 16 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. เจ้าหน้าที่ประชุมเพื่อจัดทำแผนการดำเนินงานร่วมกันในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
  2. จัดทำโครงการเพื่อเสนอขอพิจารณาอนุมัติ
  3. สถานบริการสาธารณสุขดำเนินกิจกรรมตามแผนงาน
  4. สำรวจกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุ และจำแนกประเภทโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
  5. จัดกิจกรรมสันทนาการ มรการพบปะสังสรรค์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามหลัก 6 อ. 3 เดือน/ครั้ง
  6. จัดกิจกรรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ หลัก 6 อ. แก่กลุ่มเป้าหมาย มีเนื้อหาดังนี้
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกับดอกไม้ 7 สี
    • อาหาร การดูแลเรื่องสุขภาพในช่องปาก
    • การฝึกทักษะออกกำลังกายด้วยวิธีต่างๆที่ถูกต้อง เช่น การยืดเหยียด รำไม้พลอง ฯลฯ
    • การจัดการกับอารมณ์ การจัดการกับความเครียด การเข้าหาธรรมะหรือศาสนา
    • อนามัยสิ่งแวดล้อม สภาพแวดล้อมในบ้านที่ดีเอื่อต่อการมีสุขภาพผู้สูงอายุ
    • อบายมุข การละลดเลิกบุหรี่ และแอลกอฮอล์
  7. ตรวจประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ ได้แก่ ชั่งน้ำหนัก วัดความดันโลหิต ตรวจฟัน ประเมินภาวะสุขภาพกายและจิตโดยบุคลากรสาธารณสุข อสม.และกลุ่มจิตอาสาดูแลผู้สูงอายุ
  8. ผู้สูงอายุต้นแบบระดับรพ.สต.รับการประเมิน ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว จำนวน 1 ชมรม
  9. เยี่ยมเยียนผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสุขภาพอย่างน้อยคนละ 1 ครั้ง
  10. สรุปและประเมินผลการดำเนินงานทุกเดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีชมรมนำร่องที่มีการดูแลผู้สูงอายุที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับผู้สูงอายุและครอบครัว
  2. มีการดูแลผู้สูงอายุแบบบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้สูงอายุ และครอบครัว
  3. ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมและเพิ่มคุณค่าของผู้สูงอายุที่มีศักยภาพในการดูแลตนเองร่วมกับครอบครัวมากยิ่งขึ้น
  4. มีชมรมผู้สูงอายุที่มีกิจกรรมต่อเนื่อง มีการเชื่อมประสานกับเครือข่ายและหน่วยงานราชการที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดูแลผู้สูงอายุทั้งด้านสุขภาพ จิต สังคมและจิตวิญญาณ

 

0 0

4. ป้ายไวนิลปิงปอง 7 สี

วันที่ 16 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. เจ้าหน้าที่ประชุมเพื่อจัดทำแผนการดำเนินงานร่วมกันในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
  2. จัดทำโครงการเพื่อเสนอขอพิจารณาอนุมัติ
  3. สถานบริการสาธารณสุขดำเนินกิจกรรมตามแผนงาน
  4. สำรวจกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุ และจำแนกประเภทโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
  5. จัดกิจกรรมสันทนาการ มรการพบปะสังสรรค์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามหลัก 6 อ. 3 เดือน/ครั้ง
  6. จัดกิจกรรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ หลัก 6 อ. แก่กลุ่มเป้าหมาย มีเนื้อหาดังนี้
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกับดอกไม้ 7 สี
    • อาหาร การดูแลเรื่องสุขภาพในช่องปาก
    • การฝึกทักษะออกกำลังกายด้วยวิธีต่างๆที่ถูกต้อง เช่น การยืดเหยียด รำไม้พลอง ฯลฯ
    • การจัดการกับอารมณ์ การจัดการกับความเครียด การเข้าหาธรรมะหรือศาสนา
    • อนามัยสิ่งแวดล้อม สภาพแวดล้อมในบ้านที่ดีเอื่อต่อการมีสุขภาพผู้สูงอายุ
    • อบายมุข การละลดเลิกบุหรี่ และแอลกอฮอล์
  7. ตรวจประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ ได้แก่ ชั่งน้ำหนัก วัดความดันโลหิต ตรวจฟัน ประเมินภาวะสุขภาพกายและจิตโดยบุคลากรสาธารณสุข อสม.และกลุ่มจิตอาสาดูแลผู้สูงอายุ
  8. ผู้สูงอายุต้นแบบระดับรพ.สต.รับการประเมิน ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว จำนวน 1 ชมรม
  9. เยี่ยมเยียนผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสุขภาพอย่างน้อยคนละ 1 ครั้ง
  10. สรุปและประเมินผลการดำเนินงานทุกเดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีชมรมนำร่องที่มีการดูแลผู้สูงอายุที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับผู้สูงอายุและครอบครัว
  2. มีการดูแลผู้สูงอายุแบบบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้สูงอายุ และครอบครัว
  3. ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมและเพิ่มคุณค่าของผู้สูงอายุที่มีศักยภาพในการดูแลตนเองร่วมกับครอบครัวมากยิ่งขึ้น
  4. มีชมรมผู้สูงอายุที่มีกิจกรรมต่อเนื่อง มีการเชื่อมประสานกับเครือข่ายและหน่วยงานราชการที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดูแลผู้สูงอายุทั้งด้านสุขภาพ จิต สังคมและจิตวิญญาณ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. จัดกิจกรรม สันทนาการ มีการพบปะและส่งเสริมสุขภาพชมรมผู้สูงอายุเดือนละ 1 ครั้ง
  2. จัดกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์มัสยิด
  3. ติดตามและเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ
  4. ให้ความรู้กับสมาชิกชมรมผู้สูงอายุด้านสุขภาพ เน้นการออกกำลังกาย
  5. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมปิงปอง 7 สี

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการดูแลตนเองตามรูปแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการพบปะสังสรรค์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการปฏิบัติตนตามหลัก 3 อ 2 ส และสามารถนำไปเผยแพร่ต่อภายในชุมชนได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้ชมรมผู้สูงอายุสามารถดำเนินกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพได้อย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 150
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการดูแลตนเองตามรูปแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอย่างต่อเนื่อง (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการพบปะสังสรรค์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการปฏิบัติตนตามหลัก 3 อ 2 ส และสามารถนำไปเผยแพร่ต่อภายในชุมชนได้ (3) เพื่อให้ชมรมผู้สูงอายุสามารถดำเนินกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพได้อย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในแต่ละเดือน (2) อุปกรณ์สำหรับการออกกำลังกาย (3) ป้ายประชาสัมพันธ์ (4) ป้ายไวนิลปิงปอง 7 สี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2482-3-3

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมผู้สูงอายุบ้านสะหริ่ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด