กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่หวาด


“ โครงการลดหวาน มัน เค็ม ประจำปี 2562 ”

ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูไรดา สาแล๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการลดหวาน มัน เค็ม ประจำปี 2562

ที่อยู่ ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L4121-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 พฤษภาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดหวาน มัน เค็ม ประจำปี 2562 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่หวาด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดหวาน มัน เค็ม ประจำปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดหวาน มัน เค็ม ประจำปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62-L4121-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 พฤษภาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่หวาด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เป็นโรคไม่ติดต่อเรื่้อรัง ที่นับวันจะเพิ่มมากขึ้น ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขต้องสูญเสียงบประมาณในการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และปัญหาภาวะแทรกงซ้อนจากโรคเบาหวานอย่างต่อเนื่อง จากการศึกษาข้อมูลสถิติในปี 2550 พบว่า ผู้ป่วยเบาหวานทั่วโลกเพิ่มมากขึ้น 4 ใน 5 เป็นชาวเอเซีย พบว่าผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงขาดความรู้ในการดูแลตนเอง ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้คงที่ ไม่เคยได้รับการตรวจเท้า ไม่รู้ว่าทำไมต้องตรวจเลือด ไม่รู้วิธีการดูแลสุขภาพตนเอง ขาดความตระหนักในเรื่องการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง มีพฤติกรรมการดูแลตนเองไม่เหมาะสมทั้งเรื่องการรับประทานอาหาร การกินยา การออกกำลังกาย การดูแลระดับน้ำตาลในเลือด การดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน ว่ามีความสำคัญอย่างไร นั้นแสดงให้เห็นว่าผู้ป่วยมีโอกาส เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนและเกิดผลกระทบจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มมากขึ้นทุกปี กลุ่มผู้ป่วยรายใหม่ในปี 2560 และ2561 ของโรคความดันโลหิตสูงของอำเภอธารโต 32 ราย และ 34 ราย และโรคเบาหวานรายใหม่ในปี 2560 และ 2561 จองอำเภอธารโต 21 ราย และ 36 ราย   จากการทกสอบความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพทั้งการรับประทานอาหารและยา ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง พบว่าผู้ป่วยยังขาดความรู้ จึงส่งผลให้ผู้ป่วยไม่สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ดี ดังนั้นโครงการนี้จึงมีความสำคัญในการเตรียมผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ทั้งเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ให้สามารถนำความรู้ที่ได้รับการอบรมจากสหวิชาชีพ ทั้งแพทย์ พยาบาล เภสัชกร นักสุขศึกษาและโภชนาการ โดยเน้นให้ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ให้สามารถดูแลสุภาพได้อย่างถูกวิธี แบบพึ่งพาตนเอง ไม่ต้องพึ่งยามากเกินความจำเป็น ให้เป็นแบบยั่งยืน และนำไปพัฒนางานให้เกิดรูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแบบครบวงจร ส่งเสริมให้ทีมงานสหวิชาชีพมีความสามารถในการดูแลผู้ป่วยได้อย่างเป็นระบบและเป็นต้นแบบที่มีประสิทธิภาพ ทั้งช่วยส่งเสริมการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวานในโรงพยาบาลสมุทรสาครให้ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมีความรู้ในเรื่องโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมีความรู้เรื่องโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง การดูแลสุขภาพ การรับประทานอาหารและยา การออกกำลังกาย การตรวจสุขภาพตา ไต เท้า ทั้งสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถนำความรู้ที่ได้รับ มาปรับพฤติกรรมในเรื่องการดูแลสุขภาพตนเอง ใช้ยาได้อย่างปลอดภัย ถูกวิธี และลดการพึ่งพาการใช้ยาที่เกินความจำเป็น
  3. เพื่อนำความรู้มาพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวานในหน่วยงานแบบครบวงจร ร่วมกับทีมงานสหวิชีพ (แพทย์ พยาบาล เภสัชกร นักโภชากร นักสุขศึกษา เป็นต้น)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความเข้าใจ ตระหนัก รวมทั้งสามารถประเมินสภาวะสุขภาพในเรื่องการป้องกันโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงได้
  2. บุคลากรในชุมชน (อสม./ผู้ดูแล) มีความรู้และสามารถคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดัน ตลอดจนการดูแลผู้ป่วยไดอย่างต่อเนื่อง
  3. ผู้ป่วยมีความรู้สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ และได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง ยืดระยะเวลาการมีภาวะแทรกซ้อนหรือการเกิด ภาวะแทรกซ้อนลดลง
  4. มีระบบการดำเนินการโรค เบาหวาน/ความดัน แบบครบวงจร โดยชุมชนมีส่วนร่วม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการดำเนินงานโครงการดลหวาน มัน เค็ม ปี 2562 โดยมีกิจกรรมการจัดอบรมให้ความรู้เรื่องลดหวาน มัน เค็ม โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือประชาชนอายุตั้งแต่ 35 ปี ขึ้นไป จำนวน 100 คน โดยได้จัดอบรมในวันที่ 16 กันยายน 2562 พบว่า 1. การจัดกิจกรรมการอบรมมีกลุ่มเป้าหมายเข่าร่วมกิจกรรมการอบรม 100 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ได้ผ่านการอบรมความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน ความดัน 2. กิจกรรมการตรวจวัดความดันและตรวจเบหวาน โดยได้รับการคัดกรอง ทั้งหมด 100 คน คิดเป็นร้อยละ 100 3. ผู้ป่วยที่ได้รับการอบรมสามารถควบคุมความดันโลหิตสูงได้ดี คิดเป็ํนร้อยละ 75 โดยผ่านเกณฑ์ที่กำหนดไม่ควรน้อยกว่า ร้อยละ 50 4. ผู้ป่วยที่ได้รับการอบรมสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี คิดเป็นร้อยละ 55 ซึ่งผ่านเกณฑ์ที่กำหนด โดยหลังจากการอบรม ทำให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู็ความเข้าใจในเรื่องความดัน เบาหวานมากขึ้น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมีความรู้ในเรื่องโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมีความรู้เรื่องโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง การดูแลสุขภาพ การรับประทานอาหารและยา การออกกำลังกาย การตรวจสุขภาพตา ไต เท้า ทั้งสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมควบดันโลหิตได้ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 2. ผู้ป่วยเบาหวาน ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40
1.00 0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถนำความรู้ที่ได้รับ มาปรับพฤติกรรมในเรื่องการดูแลสุขภาพตนเอง ใช้ยาได้อย่างปลอดภัย ถูกวิธี และลดการพึ่งพาการใช้ยาที่เกินความจำเป็น
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมควบดันโลหิตได้ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 2. ผู้ป่วยเบาหวาน ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40
1.00

 

3 เพื่อนำความรู้มาพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวานในหน่วยงานแบบครบวงจร ร่วมกับทีมงานสหวิชีพ (แพทย์ พยาบาล เภสัชกร นักโภชากร นักสุขศึกษา เป็นต้น)
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมควบดันโลหิตได้ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 2. ผู้ป่วยเบาหวาน ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมีความรู้ในเรื่องโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมีความรู้เรื่องโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง การดูแลสุขภาพ การรับประทานอาหารและยา การออกกำลังกาย การตรวจสุขภาพตา ไต เท้า ทั้งสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถนำความรู้ที่ได้รับ มาปรับพฤติกรรมในเรื่องการดูแลสุขภาพตนเอง ใช้ยาได้อย่างปลอดภัย ถูกวิธี และลดการพึ่งพาการใช้ยาที่เกินความจำเป็น (3) เพื่อนำความรู้มาพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวานในหน่วยงานแบบครบวงจร ร่วมกับทีมงานสหวิชีพ (แพทย์ พยาบาล เภสัชกร นักโภชากร นักสุขศึกษา เป็นต้น)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลดหวาน มัน เค็ม ประจำปี 2562 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L4121-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูไรดา สาแล๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด