กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยี่งอ


“ โครงการเฝ้าระวัง ค้นหาวัณโรค โดยอสม.ตำบลยี่งอ ปีงบประมาาณ 2562 ”

ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางฮายานิ่ง เปาะแต (ประธานกลุ่มอสม.ตำบลยี่งอ)

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ค้นหาวัณโรค โดยอสม.ตำบลยี่งอ ปีงบประมาาณ 2562

ที่อยู่ ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L2498-62-02-2 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มิถุนายน 2562 ถึง 31 กรกฎาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวัง ค้นหาวัณโรค โดยอสม.ตำบลยี่งอ ปีงบประมาาณ 2562 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยี่งอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง ค้นหาวัณโรค โดยอสม.ตำบลยี่งอ ปีงบประมาาณ 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวัง ค้นหาวัณโรค โดยอสม.ตำบลยี่งอ ปีงบประมาาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ L2498-62-02-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มิถุนายน 2562 - 31 กรกฎาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 47,220.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยี่งอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยมีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ประมาณ 120,000 รายหรือคิดเป็น 172 ต่อประชากรแสนคน (WHO,Global TB Report 2016) การจะบรรลุเป้าหมายยุติวัณโรค ระยะ 20 ปี (2559-2578) นั้น ประเทศไทยต้องมีอัตราลดอุบัติการณ์เฉลี่ยร้อยละ 12.5 ต่อปี แต่ระยะ 15 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ.2553-2558)มีอัตราลดลงของอุบัติการณ์เพียงร้อยละ 2.7 ปี จากผลการดำเนิินงานวัณโรคที่ยังไม่บรรลุ เป้าหมายสำคัญ เช่น ปีงบประมาณ 2557 มีผู้ป่วยวัณโรคขึ้นทะเบียนรักษา 67,789 ราย คิดเป็นอัตราความครอบคลุมการรักษาวัณโรค (Treatment Coverage) เพืยงร้อยละ 59 ปีงบประมาณ 2558 มีรายงานผู้ป่วยวัณโรคขึ้นทะเบียนรักษา 62,155 ราย คิดเป็นอัตราความครอบคลุมการรักษาวัณโรค (Treatment Coverage) เพียงร้อยละ 55.3 และในปีงบประมาณ 2559 มีรายงานผู้ป่วยวัณโรค ขึ้นทะเบียนรักษา 67,193 ราย คิดเป็นอัตราความครอบคลุมการรักษาวัณโรค (Treatment Coverage) เพียงร้อยละ 59.4 สาเหตุของอัตราการตรวจพบที่ต่ำนี้เกิดจาก 1.)ผู้ป่วยวัณโรคไม่เข้าสู่ระบบบริการหรือเข้าไปรับบริการในสถานบริการเอกชนหรือนอกระบบ 2)ผู้ป่วยวัณโรคมารับบริการแต่ไม่ได้รับการวินิจฉัย หรือได้รับการวินิจฉัยแต่ไม่ได้รับการรายงาน (www.tbthailand.org/data) จากการดำเนินงานวัณโรคที่ผ่านมาของ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส อัตราความสำเร็จการรักษาในผู้ป่วยวัณโรค ตั้งแต่ปี พ.ศ.255 - 2561 เท่ากับ 100%,88.46%,90.91%,90.24%และ90.38% ตามลำดับ โดยมีอัตราตายในผู้ป่วยวัณโรค 7.69%,4.00%,และ 4.88% ในปี 2558,2559 และ 2560 ตามลำดับ นอกจากนี้ยังพบว่า อัตราป่วยของผู้ป่วยวัณโรคมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด จากร้อยละ 56.20 ในปี 2558 เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 91.09 ในปี 2559 ร้อยละ 124.41 ในปี 2560 และร้อยละ 100.19 ในปี 2561 จากการวิเคราะห์แนวโน้มในการเกิดวัณโรคดื้อยา มีความเสี่ยงต่อการเกิดผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนานมาก และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น จากทิศทางสถานการณ์ดังกล่าวข้างต้น การดำเนินงานวัณโรค พบปัญหาการตรวจพบผู้ป่วย และการรักษายังต้องเพิ่มความสำเร็จการรักษาให้สูงขึ้น ดังนั้นจึงมีความจำเป็นต้องดำเนินการตามแผนงาน แนวทางการควบคุมโรคโดยมุ่งเน้น "ค้นให้พบ จบด้วยหาย พัฒนาระบบและเครือข่ายนโยบายมุ่งมั่น สร้างสรรค์นวัตกรรม" (แผนยุทธศาสตร์วัณโรคระดับชาติ 2560-2564) ซึ่งจะสามารถสะท้อนประสิทธิภาพของระบบบริการสาธารณสุข ในการตัดวงจรการแพร่กระจายเชื้อโรควัณโรค และการดื้อยาวัณโรค ทีมงานจึงได้จัดทำโครงการเพื่อเร่งรัดการค้นพบผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภท และเร่งรัดการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อวัณโรค และผู้ป่วยตามมาตรฐาน เพื่อให้ประชาชนได้รับประโยชน์สูงสุดจากการจัดบริการที่ได้มาตรฐานและมีคุณภาพของสถานบริการ ซึ่งส่งผลให้ลดอัตราป่วย อัตราตายและความเสี่ยงต่อการเกิดวัณโรคดื้อยาหลายขนานในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. อสม.ได้รับการอบรมพัฒนาศักยภาพการดูแลผู้ป่วยวัณโรคในชุมชน
  2. กลุ่มเสี่ยงได้รับการอบรมความรู้เกี่ยวกับโรควัณโรคและเฝ้าระวังค้นหาวัณโรคในชุมชนได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิการเพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ เรื่องวัณโรคกับ อสม.ในพื้นที่ ตำบลยี่งอ
  2. อบรมให้ความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรควัณโรคให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 51
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 210
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเสี่ยงเกิดความตระหนักในการดูแลและป้องกันการเกิดวัณโรคในชุมชน 2. ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยวัณโรค ทำให้สามารถค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ได้อย่างครอบคลุมและทันเวลา ลดการแพร่กระจายเชื้อวัณโรคในชุมชนได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมเชิงปฏิการเพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ เรื่องวัณโรคกับ อสม.ในพื้นที่ ตำบลยี่งอ

วันที่ 24 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเพื่อให้ความรู้ความเข้าใจ เรื่องวัณโรคกับอสม.ในพื้นที่ตำบลยี่งอ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการให้ความสนใจ ชาวบ้านให้ความร่วมมือในการได้รับความรู้อยากให้มีกิจกรรมนี้อย่างต่อเนื่อง

 

51 0

2. อบรมให้ความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรควัณโรคให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่

วันที่ 25 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโรควัณโรคให้กับปชช.กลุ่มเสี่ยง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการให้ความสนใจ ชาวบ้านให้ความร่วมมือในการจัดโครงการ และอยากให้มีกิจกรรมนี้อย่างต่อเนื่อง

 

210 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 อสม.ได้รับการอบรมพัฒนาศักยภาพการดูแลผู้ป่วยวัณโรคในชุมชน
ตัวชี้วัด : อสม.ได้รับการอบรมพัฒนาศักยภาพการดูแลผู้ป่วยวัณโรคในชุมชน ร้อยละ 100
0.00

 

2 กลุ่มเสี่ยงได้รับการอบรมความรู้เกี่ยวกับโรควัณโรคและเฝ้าระวังค้นหาวัณโรคในชุมชนได้
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงได้รับการอบรมความรู้เกี่ยวกับวัณโรค ร้อยละ 100
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 261
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 51
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 210
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) อสม.ได้รับการอบรมพัฒนาศักยภาพการดูแลผู้ป่วยวัณโรคในชุมชน (2) กลุ่มเสี่ยงได้รับการอบรมความรู้เกี่ยวกับโรควัณโรคและเฝ้าระวังค้นหาวัณโรคในชุมชนได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิการเพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ เรื่องวัณโรคกับ อสม.ในพื้นที่ ตำบลยี่งอ (2) อบรมให้ความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรควัณโรคให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวัง ค้นหาวัณโรค โดยอสม.ตำบลยี่งอ ปีงบประมาาณ 2562 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L2498-62-02-2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางฮายานิ่ง เปาะแต (ประธานกลุ่มอสม.ตำบลยี่งอ) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด