กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ


“ โครงการชุมชนร่วมใจต้านภัยบุหรี่ ”

ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวรอซีดะห์ มะสะแม

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจต้านภัยบุหรี่

ที่อยู่ ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-PKL-01-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 พฤษภาคม 2562 ถึง 13 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนร่วมใจต้านภัยบุหรี่ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจต้านภัยบุหรี่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนร่วมใจต้านภัยบุหรี่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-PKL-01-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 พฤษภาคม 2562 - 13 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาการสูบบุหรี่ถือเป็นปัญหาอันดับต้นๆของสาเหตุที่จะทำให้ปัญหาเกิดการใช้ยาเสพติดชนิดอื่น ๆ ตามมา และทำให้เกิดผลกระทบทั้งต่อร่างกาย จิตใจ และครอบครัว ซึ่งเป็นสิ่งที่ควรส่งเสริมป้องกันให้ผู้เสพหรือกลุ่มเสี่ยง สามารถ ลดละเลิกสูบบุหรี่ได้ โดยการให้ความรู้แก่บุคคลและกระตุ้นให้ชุมชนตระหนักเกี่ยวกับโทษและพิษภัยของบุหรี่ การส่งเสริมให้คิด ทำสิ่งที่ดีมีประโยชน์ การกล้าปฏิเสธบุคคลที่ชวนให้ลองสูบบุหรี่ การสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง เน้นนำหลักศาสนามาเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต จากการสำรวจพบว่าประชากรชายตำบลปากล่อ ช่วงอายุ 18+ มีอัตราการสูบบุหรี่สูงถึงร้อยละ 20.05 ดังนั้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากล่อ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้คณะทำงานมีความรู้เรื่องพิษภัยบุหรี่
  2. 2.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีพฤติกรรม ลด ละ เลิกบุหรี่ได้
  3. 3.เพื่อสร้างเครือข่ายเยี่ยมติดตามกลุ่มเป้าหมายในชุมชน
  4. 4.เพื่อให้เกิดชุมชนต้นแบบด้านการลดบุหรี่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมสำรวจกลุ่มเป้าหมาย
  2. กิจกรรมจัดประชุมชี้แจงโครงการและให้ความรู้แก่พี่เลี้ยงและคณะทำงาน
  3. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ผู้เข้าร่วมโครงการ
  4. กิจกรรมประชาสัมพันธ์ รณรงค์ให้ความรู้ในชุมชน
  5. กิจกรรมออกเยี่ยมและติดตามกลุ่มเป้าหมายเดือนละครั้ง รวม 4 เดือน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

กลุ่มเป้าหมายได้รับรู้ถึงพิษภัยของบุหรี่ กลุ่มเป้าหมายสามารถละละเลิกบุหรี่ กลุ่มเป้าหมายได้รับการติดตามเพื่อการเลิกสูบบุหรี่ เพื่อเกิดชุมชนต้นแบบด้านการลดการสูบบุหรี่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมสำรวจกลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 6 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

เจ้าหน้าที่และพี่เลี้ยงลงสำรวจและรับสมัครผู้ต้องการเข้าร่วมโครงการในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เป้าหมายของโครงการ 90 คน แต่มีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 98 คน

 

90 0

2. กิจกรรมจัดประชุมชี้แจงโครงการและให้ความรู้แก่พี่เลี้ยงและคณะทำงาน

วันที่ 21 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดประชุมชี้แจงโครงการและให้ความรู้แก่ พี่เลี้ยงและคณะทำงาน  เพื่อให้มีความรู้เรื่องพิษภัยบุหรี่ จำนวน 18 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ก่อนเข้ารับการอบรม ผู้เข้าอบรมที่ได้คะแนนระดับ 8-10 คะแนน เท่ากับ 0 %
หลังเข้ารับการอบรม ผู้เข้าอบรมที่ได้คะแนนระดับ 8-10 คะแนน เท่ากับ 100 %

 

18 0

3. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ผู้เข้าร่วมโครงการ

วันที่ 22 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดอบรมให้ความรู้ผู้เข้าร่วมโครงการ
2.ติดตามประเมินการปฏิบัติตัวหลังเข้ารับการอบรม เช่น ซักถามปัญหาในการเลิกบุหรี่ พูดจูงใจและให้กำลังใจในการเลิกบุหรี่ แนะนำการเลือกรับประทานอาหารที่ช่วยลดความอยากบุหรี่ การออกกำลังกาย เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีพฤติกรรม ลด ละ เลิกบุหรี่ได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากผู้สมัครใจเข้าร่วมโครงการทั้งหมด 98 (เป้าหมายของโครงการ 90 คน) พบว่า หลังเสร็จสิ้นโครงการ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ  มีพฤติกรรม  เลิกบุหรี่        25 คน  คิดเป็นร้อยละ  25.5
2. ผู้เข้าร่วมโครงการ  มีพฤติกรรม  ลดบุหรี่        27 คน  คิดเป็นร้อยละ  27.6
3. ผู้เข้าร่วมโครงการ  มีพฤติกรรม  ไม่เลิกบุหรี่    46 คน  คิดเป็นร้อยละ  46.9 เนื่องจากบุหรี่เป็นสารเสพติดที่เลิกยากและต้องใช้ระยะเวลาในการเลิกเสพนานหากผู้เข้าร่วมโครงการจิตใจไม่เข้มแข็งพอ ไม่ยอมเปลี่ยนทัศนคติ และยังอยู่ในสังคมเดิมๆคบเพื่อนกลุ่มเดิม อาจจะเลิกยาก และเนื่องด้วยโครงการนี้จัดทำในระยะเวลาสั้นๆ ทำให้มีผู้เข้าร่วมโครงการเลิกบุหรี่ได้เพียงร้อยละ 25.5 เท่านั้น

 

90 0

4. กิจกรรมประชาสัมพันธ์ รณรงค์ให้ความรู้ในชุมชน

วันที่ 24 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

24-26 มิย 62 1.รณรงค์และประชาสัมพันธ์โครงการในชุมชนพื้นที่ตำบลปากล่อ โดยร่วมกับ มัสยิด โรงเรียน และเครือข่ายประชาชนตำบลปากล่อ
- มีการประชาสัมพันธ์โครงการในมัสยิด โดย โต๊ะอีหม่าม - รณรงค์โครงการโดย โรงเรียนร่วมกับประชาชนพื้นที่ตำบลปากล่อ เพื่อให้เกิดชุมชนต้นแบบด้านการเลิกบุหรี่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ได้รับความร่วมมือในการรณรงค์และประชาสัมพันธ์โครงการ
    • ไม่สามารถทำให้เกิดชุนชนต้นแบบด้านการเลิกบุหรี่ได้ เนื่องจากหลังเสร็จสิ้นโครงการ ผู้เข้าร่วมโครงการไม่สามารถเลิกบุหรี่ได้ ร้อยละ 100
  • เกิดบุคคลต้นแบบด้านการลดบุหรี่ จำนวน 25 คน

 

9 0

5. กิจกรรมออกเยี่ยมและติดตามกลุ่มเป้าหมายเดือนละครั้ง รวม 4 เดือน

วันที่ 27 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ออกเยี่ยมและติดตามกลุ่มเป้าหมาย เดือนละครั้ง เป็นเวลา 4 เดือน (27 มิ.ย.62, 29 ก.ค.62,  28 ส.ค.62, 13 ก.ย.62) 1.ออกเยี่ยมโดยพี่เลี้ยงซึ่งผ่านการอบรมให้ความรู้ 2.ให้กำลังใจแก่บุคคลในครอบครัว เพื่อร่วมกันสร้งแรงจูงใจให้ผู้เข้าร่วมโครงการในการเลิกบุหรี่อย่างใกล้ชิด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดเครือข่ายเยี่ยมติดตามกลุ่มเป้าหมายระหว่างพี่เลี้ยงและบุคคลในครอบครัวเพื่อติดตามบุคคลในครอบครัวที่ติดบุหรี่

 

90 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรมที่ 1 .กิจกรรมสำรวจกลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่และพี่เลี้ยงลงสำรวจและรับสมัครผู้ต้องการเข้าร่วมโครงการในชุมชน เป้าหมายของโครงการ 90 คน แต่มีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 98 คน
กิจกรรมที่ 2 .กิจกรรมจัดประชุมชี้แจงโครงการและให้ความรู้แก่พี่เลี้ยงและคณะทำงาน จัดประชุมชี้แจงโครงการและให้ความรู้แก่ พี่เลี้ยงและคณะทำงาน เพื่อให้มีความรู้เรื่องพิษภัยบุหรี่ จำนวน 18 คน  ก่อนเข้ารับการอบรม คณะทำงานมีความรู้ในระดับ - คะแนนระดับ 0-5 คะแนน จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 44.4 - คะแนนระดับ 8-10 คะแนน จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 55.6 - คะแนนระดับ 8-10 คะแนน จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0  หลังเข้ารับการอบรม คณะทำงานมีความรู้ในระดับ - คะแนนระดับ 8-10 คะแนน จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 100 กิจกรรมที่ 3. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ผู้เข้าร่วมโครงการ 1.จัดอบรมให้ความรู้ผู้เข้าร่วมโครงการ
2.ติดตามประเมินการปฏิบัติตัวหลังเข้ารับการอบรม เช่น ซักถามปัญหาในการเลิกบุหรี่ พูดจูงใจและให้กำลังใจในการเลิกบุหรี่ แนะนำการเลือกรับประทานอาหารที่ช่วยลดความอยากบุหรี่ การออกกำลังกาย เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีพฤติกรรม ลด ละ เลิกบุหรี่ได้

จากผู้สมัครใจเข้าร่วมโครงการทั้งหมด 98 (เป้าหมายของโครงการ 90 คน) พบว่า หลังเสร็จสิ้นโครงการ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ มีพฤติกรรม เลิกบุหรี่  25 คน คิดเป็นร้อยละ 25.5
2. ผู้เข้าร่วมโครงการ มีพฤติกรรม ลดบุหรี่  27 คน คิดเป็นร้อยละ 27.6
3. ผู้เข้าร่วมโครงการ มีพฤติกรรม ไม่เลิกบุหรี่  46 คน คิดเป็นร้อยละ 46.9 เนื่องจากบุหรี่เป็นสารเสพติดที่เลิกยากและต้องใช้ระยะเวลาในการเลิกเสพนานหากผู้เข้าร่วมโครงการจิตใจไม่เข้มแข็งพอ ไม่ยอมเปลี่ยนทัศนคติ และยังอยู่ในสังคมเดิมๆคบเพื่อนกลุ่มเดิม อาจจะเลิกยาก และเนื่องด้วยโครงการนี้จัดทำในระยะเวลาสั้นๆ ทำให้มีผู้เข้าร่วมโครงการเลิกบุหรี่ได้เพียงร้อยละ 25.5 เท่านั้น กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมประชาสัมพันธ์ รณรงค์ให้ความรู้ในชุมชน 1.รณรงค์และประชาสัมพันธ์โครงการในชุมชนพื้นที่ตำบลปากล่อ โดยร่วมกับ มัสยิด โรงเรียน และเครือข่ายประชาชนตำบลปากล่อ
- มีการประชาสัมพันธ์โครงการในมัสยิด โดย โต๊ะอีหม่าม รณรงค์โครงการโดย โรงเรียนร่วมกับประชาชนพื้นที่ตำบลปากล่อ เพื่อให้เกิดชุมชนต้นแบบด้านการเลิกบุหรี่ - ได้รับความร่วมมือในการรณรงค์และประชาสัมพันธ์โครงการ จากประชาชนในพื้นที่  ตำบลปากล่อ - ไม่สามารถทำให้เกิดชุนชนต้นแบบด้านการเลิกบุหรี่ได้ เนื่องจากหลังเสร็จสิ้นโครงการ ผู้เข้าร่วมโครงการไม่สามารถเลิกบุหรี่ได้ ร้อยละ 100 - เกิดบุคคลต้นแบบด้านการลดบุหรี่ จำนวน 25 คน กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมออกเยี่ยมและติดตามกลุ่มเป้าหมายเดือนละครั้ง รวม 4 เดือน ออกเยี่ยมและติดตามกลุ่มเป้าหมาย เดือนละครั้ง เป็นเวลา 4 เดือน (27 มิ.ย.62, 29 ก.ค.62, 28 ส.ค.62, 13 ก.ย.62) 1. ออกเยี่ยมโดยพี่เลี้ยงซึ่งผ่านการอบรมให้ความรู้ ติดตามประเมินการปฏิบัติตัวหลังเข้ารับการอบรม เช่น ซักถามปัญหาในการเลิกบุหรี่ พูดจูงใจและให้กำลังใจในการเลิกบุหรี่ แนะนำการเลือกรับประทานอาหารที่ช่วยลดความอยากบุหรี่ การออกกำลังกาย เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีพฤติกรรม ลด ละ เลิกบุหรี่ได้ 2.ให้กำลังใจแก่บุคคลในครอบครัว เพื่อร่วมกันสร้างแรงจูงใจให้ผู้เข้าร่วมโครงการในการเลิกบุหรี่อย่างใกล้ชิดเพื่อสร้างเครือข่ายเยี่ยมติดตามกลุ่มเป้าหมายในชุมชน ผลลัพธ์ เกิดเครือข่ายเยี่ยมติดตามกลุ่มเป้าหมายโดยพี่เลี้ยงผู้ผ่านการอบรมทั้ง 9 หมู่บ้าน โดยมีการติดตามกลุ่มเป้าหมายครบ 100 % และร่วมกับบุคคลในครอบครัวเพื่อติดตามบุคคลในครอบครัวที่ติดบุหรี่

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้คณะทำงานมีความรู้เรื่องพิษภัยบุหรี่
ตัวชี้วัด :
18.00 18.00

 ก่อนเข้ารับการอบรม คณะทำงานมีความรู้ในระดับ 8-10 คะแนน จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0  หลังเข้ารับการอบรม คณะทำงานมีความรู้ในระระดับ 8-10 คะแนน จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 100

2 2.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีพฤติกรรม ลด ละ เลิกบุหรี่ได้
ตัวชี้วัด :
90.00 25.00

จากผู้สมัครใจเข้าร่วมโครงการทั้งหมด 98 พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ  มีพฤติกรรม เลิกบุหรี่    25 คน คิดเป็นร้อยละ 25.5

3 3.เพื่อสร้างเครือข่ายเยี่ยมติดตามกลุ่มเป้าหมายในชุมชน
ตัวชี้วัด :
9.00 9.00

เกิดเครือข่ายเยี่ยมติดตามกลุ่มเป้าหมายโดยพี่เลี้ยงผู้ผ่านการอบรมทั้ง 9 หมู่บ้าน โดยมีการติดตามกลุ่มเป้าหมายครบ 100 % และร่วมกับบุคคลในครอบครัวเพื่อติดตามบุคคลในครอบครัวที่ติดบุหรี่

4 4.เพื่อให้เกิดชุมชนต้นแบบด้านการลดบุหรี่
ตัวชี้วัด :
1.00 0.00

ไม่สามารถทำให้เกิดชุนชนต้นแบบด้านการเลิกบุหรี่ได้ เนื่องจากหลังเสร็จสิ้นโครงการ ผู้เข้าร่วมโครงการไม่สามารถเลิกบุหรี่ได้ ร้อยละ 100 แต่เกิดบุคคลต้นแบบด้านการลดบุหรี่ จำนวน 25 คน

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90 98
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90 98
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้คณะทำงานมีความรู้เรื่องพิษภัยบุหรี่ (2) 2.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีพฤติกรรม ลด ละ เลิกบุหรี่ได้ (3) 3.เพื่อสร้างเครือข่ายเยี่ยมติดตามกลุ่มเป้าหมายในชุมชน (4) 4.เพื่อให้เกิดชุมชนต้นแบบด้านการลดบุหรี่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสำรวจกลุ่มเป้าหมาย (2) กิจกรรมจัดประชุมชี้แจงโครงการและให้ความรู้แก่พี่เลี้ยงและคณะทำงาน (3) กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ผู้เข้าร่วมโครงการ (4) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ รณรงค์ให้ความรู้ในชุมชน (5) กิจกรรมออกเยี่ยมและติดตามกลุ่มเป้าหมายเดือนละครั้ง รวม 4 เดือน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจต้านภัยบุหรี่

รหัสโครงการ 61-PKL-01-13 ระยะเวลาโครงการ 6 พฤษภาคม 2562 - 13 กันยายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

การประสานความร่วมมือระหว่างพี่เลี้ยงและบุคคลในครอบครัวของผู้สูบ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

ผู้เข้าร่วมโครงการที่เลิกบุหรี่ได้ ครอบครัวของผู้เลิกเสพ และพี่เลี้ยงจะร่วมกันเป็นภาคีเครือข่ายในการติดตามผู้เข้าร่วมโครงการที่ยังไม่เลิกเสพ และชักจูงผู้ที่ยังไม่เข้าร่วมให้เลิกบึหรี่ต่อไป

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

ยังไม่เกิด

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

ทักษะในการจัดการปัญหาจากการปฏิเสธเข้าร่วมโครงการ การตัดสินใจเข้าหาผู้เสพเพื่อชักจูงให้เข้าโครงการ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

ผู้เลิกบุหรี่คลายความวิตกเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพจากการสูบ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

ไม่อยากให้ควันบุหรี่มืองสองทำลายผู้อื่น

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

สามารถเก็บออมเงินที่ต้องเสียไปจากการซื้อบุหรี่

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

ครอบครัวและคนรอบข้างร่วมกันให้กำลังใจผู้ที่ต้องการเลิกบุหรี่

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

ผู้สูบบางรายเสพเนื่องจาก 1.เพิ่งทราบว่าบุหรี่มีผลต่อโรคเรื้อรังที่เป็นอยู่ 2.เนื่องจากได้ทราบว่าควันบุหรี่มืองสองอัตรายกับลูกและคนรอบข้าง 3.อายุมากแล้วคิดว่าควรทำตัวให้แข็งแรงปราศจากโรคจะดีกว่า

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการชุมชนร่วมใจต้านภัยบุหรี่ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-PKL-01-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวรอซีดะห์ มะสะแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด