กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ


“ โครงการสุขภาพดีด้วยซั้งกอ สร้างบ้านให้ปลา อ่าวปากบารา ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล ”

ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายกัมพล ถิ่นทะเล

ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพดีด้วยซั้งกอ สร้างบ้านให้ปลา อ่าวปากบารา ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

ที่อยู่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5312-2-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2562 ถึง 30 เมษายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขภาพดีด้วยซั้งกอ สร้างบ้านให้ปลา อ่าวปากบารา ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพดีด้วยซั้งกอ สร้างบ้านให้ปลา อ่าวปากบารา ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสุขภาพดีด้วยซั้งกอ สร้างบ้านให้ปลา อ่าวปากบารา ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L5312-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2562 - 30 เมษายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 108,490.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อ่าวปากบาราเป็นบริเวณทะเลนับจากเกาะตะรุเตาเข้ามาประชิดฝั่งแผ่นดินใหญ่ เป็นพื้นที่ ที่มีฐานทรัพยากรทางทะเลอุดมสมบูรณ์ในทะเลแถบอันดามันของไทย มีระบบนิเวศน์ทะเลชายฝั่ง ที่มีลักษณะ เฉพาะ บริเวณปากแม่น้ำที่อุดมสมบูรณ์ก่อให้เกิดแหล่งอาหาร และอนุบาลสัตว์น้ำ มีเกาะแก่งขนาบ ทั้งด้านเหนือ ด้านใต้ และด้านตะวันตก มีร่องน้ำเดินเรือ มีทั้งแหล่งปะการังธรรมชาติ และปะการังเทียม ในบริเวณอ่าวปากบารา
ปัจจุบันการประมงแบบหลากหลายวิธี ทั้งเรือประมงพาณิชย์ และเรือประมงพื้นบ้าน ที่มีการใช้ เครื่องมือจับสัตว์น้ำที่ทันสมัย ทำให้จำนวนประชากรสัตว์น้ำลดลงอย่างเห็นได้ชัด ข้อมูลจากประมงพื้นบ้าน กล่าวเป็นเสียงเดียวกันว่า ปริมาณที่จับสัตว์น้ำลดลง ออกเรือหาปลาแต่ละครั้งก็ต้องก็ได้ ปริมาณลดลงมาก และต้องออกหาปลาไกลขึ้น ใช้เชื้อเพลิงน้ำมันออกเรือปริมาณมากขึ้น ออกเรือหาปลาใช้เวลานานขึ้น บางทีในการ ออกเรือแต่ละครั้งค่าน้ำมันเรือกับจำนวนปลาที่ได้ก็ขาดทุน ชาวประมงพื้นบ้านได้เห็นผลกระทบดังกล่าว จึงได้เกิดความร่วมมือกันจากหลายชุมชนโดยรอบอ่าวปากบารา เริ่มทำกิจกรรมฟื้นฟูสัตว์น้ำในหลากหลาย วิธี เช่น กิจกรรมธนาคารปู การกำหนดเขตอนุรักษ์สัตว์น้ำร่วมกัน การวางซั้งกอหรือบ้านปลาเพื่อสร้างแหล่ง หลบภัยให้ ฝูงปลา โดยเฉพาะในช่วงหน้ามรสุม บ้านปลายังเป็นแหล่งอนุบาลสัตว์น้ำตัวอ่อนอีกด้วยภายใต้ การรวมกลุ่มกัน “สมาคมชาวประมงพื้นบ้านปากน้ำ” เพื่อรวมเครือข่ายชาวบ้านทำกิจกรรมอนุรักษ์ ให้ต่อเนื่องและยั่งยืน การวางซั้งกอหรือสร้างบ้านให้ปลา เป็นกิจกรรมที่ประชาชนสามารถใช้กล้ามเนื้อของร่างกายในการสร้างซังกอ เสริมสร้างสุขภาพให้แข็งแรง และสามารถเพิ่มปริมาณสัตว์น้ำและสามารถป้องกันการใช้เครื่องมือประมงผิดกฎหมายที่จะรุกเข้ามาในเขตพื้นที่การประมงพื้นบ้านได้ด้วย นอกจากนี้ การกำหนดพื้นที่วางซั้งกอ ทำให้ชาวบ้านในชุมชนได้รับประโยชน์ เนื่องจาก ทำให้ชาวบ้านสามารถออกไปจับปลา มาประกอบอาหารในครัวเรือน ได้สัตว์น้ำที่ปลอดภัยทำให้ส่งผลดีต่อสุขภาพ ปลอดจากสารฟอร์มาลีน และสารเคมีต่างๆ สมาคมชาวประมงพื้นบ้านปากน้ำ จึงได้ร่วมกันรณรงค์ให้ชุมชนตลอดจนผู้เกี่ยวข้องได้ร่วมบริหารจัดการ ทรัพยากรชายฝั่งพื้นที่อ่าวปากบาราอย่างมีส่วนร่วมเพื่อความรักษาความมั่นคงทางอาหารของโลก และสามารถ รักษาทรัพยากรชายฝั่งให้อุดมสมบูรณ์ยั่งยืนสู่รุ่นลูกหลานสืบไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการบริโภคอาหารทะเลที่ปลอดภัยจากการสร้างซังกอ
  2. เพื่อให้ประชาชนมีกิจกรรมทางกายในการสร้างซังกอ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมสรุปผลการดำเนินกิจกรรมวางซั้งกอ และวางแผนกิจกรรม ปี 2
  2. 1.1.ประชุมคณะกรรมการสมาคมชาวประมงพื้นบ้านปากน้ำ
  3. กิจกรรมการมีส่วนร่วม เตรียมอุปกรณ์ทำซั้งกอหรือบ้านปลา
  4. กิจกรรมคืนบ้านให้ปลาสู่ท้องทะเล ประชาชนร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ
  5. 1.2 เวทีให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และสุขภาพของคนในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • ประชาชนในพื้นที่ได้บริโภคอาหารทะเลที่ปลอดภัย ส่งผลให้มีสุขภาพที่ดี ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ
  • ปริมาณความหนาแน่นของบ้านปลาเพิ่มขึ้น เพื่อเป็นแหล่งกำเนิดและอนุบาลสัตว์สัตว์น้ำ ในบริเวณพื้นที่ชายฝั่ง เพื่อแสดงความอุดมสมบูรณ์ของท้องทะเล
  • เกิดความร่วมมือในชุมชนท้องถิ่น รวมถึงภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ในเรื่องการอนุรักษ์และความมั่นคงทางอาหารสู่ความเข้มแข็งของชุมชมในการปกป้องทรัพยากรทางทะเล
  • สามารถสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลทางสู่สาธารณชน
  • เกิดเป็นต้นแบบแนวทางการดำเนินการเพื่อฟื้นฟูสัตว์น้ำที่อ้างอิงในเชิงรูปธรรมได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมการมีส่วนร่วม เตรียมอุปกรณ์ทำซั้งกอหรือบ้านปลา

วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมมีส่วนร่วมชุมชนสัมพันธ์ โดยเปิดให้ชาวบ้านและผู้ที่สนใจเข้าร่วมการเรียนรู้ ร่วมเตรียมอุปกรร์ เตรียมไม้ไผ่ ถักทางมะพร้าว ตัดเชือก และหล่อปูน โดยแบ่งเป็น 2 ช่วง คือ
ช่วงที่ 1 วันที่ 15-24 กุมภาพันธ์ 2563 ได้เริ่มมีการเตรียมวัสดุและอุปกรณ์ต่างๆ ดังนี้
1.ไม่ไผ่ 100 ลำ 2.ทางมะพร้าว 1200 ทาง 3.ปูน หิน ทราย เพื่อทำลูกถ่วงจำนวน 100 ลูก 4. เชือก
ช่วงที่ 2 วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2563 ได้มีการเตรียมอุปกรณ์ต่างๆและสาธิตวิธีการทำซั้งกอ คือ 1.เตรียมไม้ไผ่ เจาะรู และร้อยเชือก 2.ขนลุกปูนไปยังท่าเทียบเรือเพื่อขนลงเรือ
3.ถักทางมะพร้าวและขนไปยังท่าเทียบเรือ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.การถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับซั้งกอ 2.กลุ่มผู้เข้าร่วมกิจกรรม 3.ผลที่ได้จากการจัดกิจกรรม

 

40 0

2. ประชุมสรุปผลการดำเนินกิจกรรมวางซั้งกอ และวางแผนกิจกรรม ปี 2

วันที่ 19 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

09.00 – 09.30 น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 09.30 – 11.00 น. นำเสนอผลการดำเนินโครงการการว่างซั้งกอในอ่าวปากบารา โดย นายกัมพลถิ่นทะเล นายกสมาคมชาวประมงพื้นบ้านปากน้ำ
11.00 – 12.00 น. แลกเปลี่ยนการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ซั้งกอ โดยสมาชิกสมาคมชาวประมงพื้นบ้านปากน้ำ 13.00 – 15.00 น. ออกแบบและวางแผนการติดตามความอุดมสมบูรณ์ที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งสรุปงานเพื่อวางแผน ในปีถัดไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1. 2.
3.

 

40 0

3. กิจกรรมคืนบ้านให้ปลาสู่ท้องทะเล ประชาชนร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ

วันที่ 25 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมคืนบ้านให้ปลาสู่ท้องทะเล ประชาชนร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ เตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ ในการทำซั้งกอหรือบ้านปลา จำนวน 100 ต้น โดยใช้วัสดุ อุปกรณ์ ได้แก่ ปูนแบบผสมเสร็จ หล่อให้เป็นแท่งปูนสี่เหลี่ยม 36 x 59 x 33 นิ้ว เพื่อทำเป็นฐานถ่วงน้ำหนัก ลงสู่ก้นทะเลน้ำตื้น และใช้เชือกขนาด 10 มิลลิเมตร ผูกติดระหว่าง แท่นปูนและท่อนไม่ไผ่และใช้เชือกขนาด 4 มิลลิเมตรผูกระหว่างท่อนกับใบทางมะพร้าว และใช้เรือประมงพื้นบ้านนำไปทิ้งตามพิกัดที่เรากำหนดไว้ กำหนดการ
07.00 – 08.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 08.00 – 09.00 น. กิจกรรมส่วนร่วมในชุมชนสัมพันธ์ในการให้ชาวบ้าน เตรียมเรือไว้ที่ท่าเรือ ขนย้ายวัสดุอุปกรณ์ขึ้นเรือ (ทางมะพร้าว ไม้ไผ่ หินถ่วง) 09.00 – 15.00 น. นำวัสดุอุปกรณ์(ทางมะพร้าว ไม้ไผ่ หินถ่วง) มาผูกไว้เป็นต้นๆ นำไปวางไปตามพิกัดทีได้กำหนดไว้ 15.00 – 16.00 น. นำเรือเข้าฝั่ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. การวางซั้งกอ จำนวน 3 จุด 100 ต้น พิกัดที่ 1 ...............พิกัดที่ 2..................พิกัดที่ 3.................. 2.เกิดความร่วมมือระหว่างงหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง เช่น สมาคมชาวประมงพื้นบ้าน กรมประมง สมาคมรักษ์ทะเลไทย ร้านคนจับปลา

 

20 0

4. 1.2 เวทีให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และสุขภาพของคนในชุมชน

วันที่ 25 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดการเวทีให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และสุขภาพของคนในชุมชน 13.00 – 13.30น.ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม
13.30 - 14.30น.เวทีให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดย นายกัมพล ถิ่นทะเล นายกสมาคมชาวประมงพื้นบ้านปากน้ำ อำเภอละงูจังหวัดสตูล
14.30 – 15.00 น. สาธิตวิธีการทำซั้งกอ ให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
โดย นายม่าเบ็ญ อาหมัน สมาคมชาวประมงพื้นบ้านปากน้ำ
15.00 – 16.00 น. สรุปเวทีและแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการบริโภคอาหารทะเลที่ปลอดภัยจากการสร้างซังกอ
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนมีกิจกรรมทางกายในการสร้างซังกอ
ตัวชี้วัด : ประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมครบทุกคน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการบริโภคอาหารทะเลที่ปลอดภัยจากการสร้างซังกอ (2) เพื่อให้ประชาชนมีกิจกรรมทางกายในการสร้างซังกอ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมสรุปผลการดำเนินกิจกรรมวางซั้งกอ และวางแผนกิจกรรม ปี 2 (2) 1.1.ประชุมคณะกรรมการสมาคมชาวประมงพื้นบ้านปากน้ำ (3) กิจกรรมการมีส่วนร่วม เตรียมอุปกรณ์ทำซั้งกอหรือบ้านปลา (4) กิจกรรมคืนบ้านให้ปลาสู่ท้องทะเล ประชาชนร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ (5) 1.2 เวทีให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และสุขภาพของคนในชุมชน (6)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสุขภาพดีด้วยซั้งกอ สร้างบ้านให้ปลา อ่าวปากบารา ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5312-2-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายกัมพล ถิ่นทะเล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด