กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าพระยา


“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ”

อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุณา ทองสิวรรณ์

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก

ที่อยู่ อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5261-3 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าพระยา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5261-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 94,932.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าพระยา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา ซึ่งสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในปี พ.ศ. 2562 (ข้อมูลจากระบบรายงานการเฝ้าระวังโรค 506 สำนักระบาดวิทยา ณ วันที่ 30 เมษายน 2562) มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก (Dengue fever : DF, Dengue haemorrhagic fever : DHF, Dengue shock syndrome : DSS) สะสมรวม 18,105 ราย อัตราป่วย 27.41 ต่อประชากรแสนคน มีการรายงานจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกมากกว่าปี พ.ศ.2561 ณ ช่วงเวลาเดียวกัน 2.1 เท่า ผู้ป่วยเสียชีวิต 24 ราย อัตราป่วยตาย
ร้อยละ 0.13 โดยการกระจายการเกิดโรคไข้เลือดออกรายภาค พบว่า ภาคใต้มีอัตราป่วยสูงที่สุด เท่ากับ 35.56 ต่อประชากรแสนคน ซึ่งสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในตำบลสะบ้าย้อย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา นับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2562 ถึงวันที่ 8 พฤษภาคม 2562 ศูนย์สุขภาพชุมชนสะบ้าย้อย ได้รับรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวนทั้งสิ้น 13 ราย อัตราป่วย 121.25 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต
พบผู้ป่วยเพศหญิงมากกว่าเพศชาย โดยพบเพศหญิง 8 ราย เพศชาย 5 ราย สัดส่วนเพศหญิงต่อเพศชาย เท่ากับ 1.6 : 0.6 กลุ่มอายุที่พบสูงสุด คืออายุ ๕-๑๔ ปี อาชีพที่มีผู้ป่วยสูงสุด คือนักเรียน จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 8 ราย และหมู่บ้านที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือบ้านไร่ ม.5 จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 5 ราย รองลงมาคือ
เขตเทศบาลตำบลสะบ้าย้อย , บ้านเพ็งยา ม.3 , บ้านบ่อทอง ม.4 , บ้านยาเร๊ะ ม.7 และบ้านบ่อคุย ม.9 จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 3, 2, 1, 1, และ 1 ราย ตามลำดับ ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่การควบคุมและป้องกันโรคเชิงรุก โดยใช้หลักการมีส่วนร่วมให้คนในชุมชน ได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออด จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดนเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชนตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ ในการนี้ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตำบลสะบ้าย้อย ร่วมกับภาคีเครือข่ายฯ ได้เห็นถึงความสำคัญและความจำเป็นในการควบคุมป้องกันและรณรงค์เพื่อให้สถานการณ์ของโรคไข้เลือดออก ได้รับการควบคุมป้องกันที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย จึงจัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตำบลสะบ้าย้อย ปีงบประมาณ 256๒ ขึ้น เพื่อควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกล่วงหน้าและทันท่วงทีที่เกิดโรค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราป่วยและไม่มีผู้ป่วยตาย ด้วยโรคไข้เลือดออก
  2. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียนและชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าจ้างเหมาพ่นหมอกควันจำนวน 9 หมู่บ้าน
  2. ค่าจ้างเหมาพ่นหมอกควันจำนวน 6 โรงเรียน
  3. ค่าสเปรย์พ่นยุง
  4. ค่าทรายอะเบท
  5. ค่าโลชั่นกันยุง
  6. ค่าสารเคมีในการพ่นหมอกควัน
  7. ค่าสำรองซ่อมเครื่องพ่นหมอกหมอกควัน
  8. ค่าจัดทำป้ายไวนิลรณรงค์โรคไข้เลือดออก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. จำนวนอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในทุกกลุ่มอายุลดลง ๒. ค่าดัชนีชี้วัดลูกน้ำยุงลายในชุมชน House Index < 10 และค่า Container Index = 0 ๓. ค่าดัชนีชี้วัดลูกน้ำยุงลายในสถานศึกษา ศาสนสถาน และสถานที่ราชการต่างๆ มีค่า CI = 0


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราป่วยและไม่มีผู้ป่วยตาย ด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียนและชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยและไม่มีผู้ป่วยตาย ด้วยโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียนและชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าจ้างเหมาพ่นหมอกควันจำนวน 9 หมู่บ้าน (2) ค่าจ้างเหมาพ่นหมอกควันจำนวน 6 โรงเรียน (3) ค่าสเปรย์พ่นยุง (4) ค่าทรายอะเบท (5) ค่าโลชั่นกันยุง (6) ค่าสารเคมีในการพ่นหมอกควัน (7) ค่าสำรองซ่อมเครื่องพ่นหมอกหมอกควัน (8) ค่าจัดทำป้ายไวนิลรณรงค์โรคไข้เลือดออก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5261-3

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุณา ทองสิวรรณ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด