กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี


“ โครงการสตรียุค 4.0 รู้ทันมะเร็ง ประจำปีงบประมาณ 2562 ”

ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวรอฮานา เต็งมะ นางยุพิน สาเมาะ

ชื่อโครงการ โครงการสตรียุค 4.0 รู้ทันมะเร็ง ประจำปีงบประมาณ 2562

ที่อยู่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L2971-2-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสตรียุค 4.0 รู้ทันมะเร็ง ประจำปีงบประมาณ 2562 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสตรียุค 4.0 รู้ทันมะเร็ง ประจำปีงบประมาณ 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสตรียุค 4.0 รู้ทันมะเร็ง ประจำปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L2971-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มะเร็งเต้านม เป็นโรคมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับ 2 ของโรคมะเร็งทั้งหมดของ สตรีไทย โรคมะเร็งที่พบรองลงมาจากมะเร็งปากมดลูก ได้แก่ โรคมะเร็งเต้านม, โรคมะเร็งช่องปาก,โรคมะเร็งปอด และโรคมะเร็งรังไข่ ฯลฯ ปัญหาดังกล่าวก่อให้เกิดความสูญเสียทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และทางด้านเศรษฐกิจ เป็นอย่างมาก แต่จะสามารถป้องกันและรักษาให้หายขาดได้ถ้าพบผู้ป่วยโรคมะเร็งในระยะเริ่มแรก ดังนั้นถ้าสามารถกระตุ้นให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้มีความรู้และเข้าใจ เกี่ยวกับโรคดังกล่าว พร้อมทั้งตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการตรวจค้นหาโรคมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรกก็จะทำให้อัตราการเกิดโรค,อัตราการป่วยและอัตราการตาย จากโรคมะเร็งลดลง   แม้ว่าในปัจจุบันโรคมะเร็งเต้านมยังไม่มีข้อมูลที่ยืนยันอย่างชัดเจนเกี่ยวกับสาเหตุของการเป็นโรคได้ก็ตาม แต่กลุ่มสตรีสามารถดูแลและป้องกันตนเองได้ในระดับหนึ่ง ด้วยการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมเป็นประจำทุกเดือนเพื่อค้นหาความผิดปกติของเต้านม และได้รับการดูแลรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มแรก วิธีการตรวจเต้านมด้วยตนเองเป็นวิธีที่ง่าย สะดวก ประหยัดค่าใช้จ่าย การให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับการเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดมะเร็ง สามารถลดอัตราการเกิดและตายจากโรคมะเร็งได้   จากการดำเนินงานที่ผ่านมาสตรีกลุ่มเป้าหมายยังขาดความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักในการมาตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ขาดทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และยังให้ความสำคัญในการตรวจเต้านมด้วยตนเองน้อย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มสตรีมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง
  2. เพื่อให้สตรีที่มีอายุ 30-70 ปี สามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ได้ด้วยตนเอง
  3. เพื่อให้สตรีที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อ เพื่อการวินิจฉัยได้อย่างรวดเร็ว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้เรื่องการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม
  2. ฝึกทักษะการตรวจคัดกรองมะเร็ง เต้านมด้วยตนเอง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สตรีที่มีอายุ 30-70 ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองทุกเดือน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.สตรีที่มีอายุ 30-70 ปีมีทักษะในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมได้ด้วยตนเอง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3.สตรีที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อ เพื่อการวินิจฉัยได้อย่างรวดเร็ว


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ให้ความรู้เรื่องการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม

วันที่ 25 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินการให้ความรู้เรื่องการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมแก่กลุ่มเป้าหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง

 

100 0

2. ฝึกทักษะการตรวจคัดกรองมะเร็ง เต้านมด้วยตนเอง

วันที่ 27 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินการฝึกทักษะการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายสามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมได้ด้วยตนเองได้อย่างถูกต้องโดยใช้วิธี 3 นิ้ว 3 สัมผัส

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มสตรีมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละสตรีได้รับความรู้ ความเข้าใจในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองทุกเดือนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
80.00 82.00

 

2 เพื่อให้สตรีที่มีอายุ 30-70 ปี สามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ได้ด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละสตรีที่มีอายุ 30-70 ปี มีทักษะในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
80.00 83.26

 

3 เพื่อให้สตรีที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อ เพื่อการวินิจฉัยได้อย่างรวดเร็ว
ตัวชี้วัด : สตรีที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อ เพื่อการวินิจฉัย ร้อยละ 100
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มสตรีมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง (2) เพื่อให้สตรีที่มีอายุ 30-70 ปี สามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ได้ด้วยตนเอง (3) เพื่อให้สตรีที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อ เพื่อการวินิจฉัยได้อย่างรวดเร็ว

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้เรื่องการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม (2) ฝึกทักษะการตรวจคัดกรองมะเร็ง เต้านมด้วยตนเอง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสตรียุค 4.0 รู้ทันมะเร็ง ประจำปีงบประมาณ 2562 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L2971-2-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวรอฮานา เต็งมะ นางยุพิน สาเมาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด