กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการพัฒนาการเฝ้าระวังป้องกันโรคนํ้าหนีบ (Caisson Disease) ของชาวเลและประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่หมู่ที่3 บ้านเกาะบูโหลน ตำบลปากนํ้า อำเภอละงู จังหวัดสตูล

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ


“ โครงการพัฒนาการเฝ้าระวังป้องกันโรคนํ้าหนีบ (Caisson Disease) ของชาวเลและประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่หมู่ที่3 บ้านเกาะบูโหลน ตำบลปากนํ้า อำเภอละงู จังหวัดสตูล ”

ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายไพบูลย์ ชาวสวนศรีเจริญ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาการเฝ้าระวังป้องกันโรคนํ้าหนีบ (Caisson Disease) ของชาวเลและประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่หมู่ที่3 บ้านเกาะบูโหลน ตำบลปากนํ้า อำเภอละงู จังหวัดสตูล

ที่อยู่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5312-2-18 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 พฤศจิกายน 2562 ถึง 30 เมษายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาการเฝ้าระวังป้องกันโรคนํ้าหนีบ (Caisson Disease) ของชาวเลและประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่หมู่ที่3 บ้านเกาะบูโหลน ตำบลปากนํ้า อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาการเฝ้าระวังป้องกันโรคนํ้าหนีบ (Caisson Disease) ของชาวเลและประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่หมู่ที่3 บ้านเกาะบูโหลน ตำบลปากนํ้า อำเภอละงู จังหวัดสตูล



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาการเฝ้าระวังป้องกันโรคนํ้าหนีบ (Caisson Disease) ของชาวเลและประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่หมู่ที่3 บ้านเกาะบูโหลน ตำบลปากนํ้า อำเภอละงู จังหวัดสตูล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L5312-2-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 พฤศจิกายน 2562 - 30 เมษายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 74,960.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล นับตั้งแต่พื้นที่ทะเลทางภาคใต้ได้ถูกประกาศเป็นพื้นที่เขตอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืชนั้น ชาวเลประสบปัญหาหลายด้าน เช่น เรื่องไร้สิทธิ์ครอบครองและอาศัยอยู่ในที่ดินชุมชน การถูกไล่ที่จากภาคเอกชน รวมถึงการไม่สามารถออกจับสัตว์น้ำในบริเวณอุทยานแห่งชาติได้ ทำให้ชาวเลหลายพื้นที่ต้องออกเรือไกลและลงน้ำลึกกว่าเดิม ซึ่งนอกจากจะเพิ่มภาระค่าใช้จ่ายในเรื่องค่าน้ำมันเรือแล้ว ยังเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาโรคน้ำนีบ(Caisson Disease) มากขึ้น เนื่องจากต้องดำน้ำในระดับน้ำที่ลึกกว่าเดิม จากข้อมูลกองเวชศาสตร์ใต้น้ำและการบิน กรมแพทย์ทหารเรือ ได้รวบรวมข้อมูลผู้ป่วยจากการดำน้ำที่เข้ารับการรักษาในช่วงปี 2525 – 2544 พบว่าผู้ป่วยทุกคนประกอบอาชีพดำน้ำลึก ตั้งแต่ 30 – 40 เมตร ขึ้นไป เพื่อจับสัตว์ทะเลหรือตัดต้นไม้ใต้น้ำ ด้วยอุปกรณ์ง่ายๆ คือ หน้ากากและท่ออากาศขนาดเล็กต่อกับเครื่องอัดอากาศที่ติดตั้งบนเรือ (การดำน้ำเพื่อสันทนาการลึก แค่ 10-20 เมตร โดยมีอุปกรณ์ช่วยเหลือ) และมีการดำน้ำต่อเนื่องเป็นเวลานาน รวมทั้งขั้นตอนของการขึ้นจากน้ำเร็วกว่าปกติ จากข้อมูลระบุว่า ความเสี่ยงของการเกิดโรคน้ำหนีบ คือ การดำน้ำลึกกว่า 18 เมตร จากข้อมูลสถิตการเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบของจังหวัดสตูล ยังพบผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง โดยจากสถิติข้อมูลมีรายงานพบว่าชาวเลบนเกาะหลีเป๊ะ จังหวัดสตูล ยังพบผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง โดยข้อมูลในปี 2552 รพ.สต.เกาะหลีเป๊ะ สำรวจพบว่า มีชาวประมงเจ็บป่วยจากการดำน้ำ จำวน 24 ราย ขณะที่ล่าสุดข้อมูลจนถึงปัจจุบัน ปี 2558 พบจำนวนผู้ป่วยลดลงเหลือ จำนวน 9 ราย ก็ตาม ขณะที่พื้นที่เกาะบูโหลน ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล เป็นอีกพื้นที่ที่สำคัญซึ่งมีประชาชนประกอบอาชีพประมงหาปลาหรือสัตว์น้ำเช่นเดียวกับชาวเลเกาะหลีเป๊ะ โดยคุณลักษณะทางประชากรด้านเชื้อชาติเผ่าพันธุ์เป็นชุมชนชาวเล(ชาวอูรักลาโว้ย) มากกว่าร้อยละ 90 โดยมีการอพยพไปมาระหว่างเกาะบูโหลน เกาะหลีเป๊ะ จากสถิติข้อมูลการเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบ พ.ศ. 2562 รพ.สต.บ่อเจ็ดลูก มีรายงานพบผู้ป่วยโรคน้ำหนีบบนเกาะบูโหลน จำนวน 1 ราย อย่างไรก็ตามพบว่ายังมีข้อจำกัดของข้อมูลที่จะบ่งชี้ถึงสถิติการเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบของชาวเลดังกล่าว ด้วยสาเหตุหลายปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยด้านคุณลักษณะทางประชากรด้านเชื้อชาติเผ่าพันธุ์ ความเชื่อ ความรู้ พฤติกรรมการป้องกันตนเองยังไม่ดีพอ อัตราการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพยังต่ำมากด้วยข้อจำกัดเรื่องการเดินทางลำบาก และยังไม่มีหน่วยบริการสาธารณสุขและบุคลากรสาธารณสุขบนพื้นที่เกาะบูโหลน ที่มีศักยภาพในการตรวจคัดกรองโรคน้ำหนีบเบื้องต้นได้ แต่ด้วยความรุนแรงอาการของโรคน้ำหนีบ มีความอันตรายถึงขั้นเสียชีวิตหากไม่ได้รับการดูและรักษาอย่างถูกต้อง ประกอบกับกลุ่มชาวเลเกาะบูโหลนซึ่งเป็นคนกลุ่มพื้นเมือง อาศัยอยู่ในพื้นที่ห่างไกล ทำให้การเข้าถึงข้อมูลในการป้องกันตนเองจากภัยสุขภาพของการประกอบอาชีพยังมีอยู่น้อยดังนั้น มีความจำเป็นที่หน่วยงานสาธารณสุขและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะต้องดำเนินพัฒนาการเฝ้าระวังสุขภาพของกลุ่มชาวเล จากการประกอบอาชีพดำน้ำลึกอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธรจังหวัดตรัง จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาการเฝ้าระวังและป้องกันโรคน้ำหนีบของชาวเลและประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่เกาะบูโหลนโดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อช่วยลดสถานการณ์ความรุนแรงของการเกิดโรคที่อาจเกิดขึ้นได้อีกในอนาคต และอีกทั้งเป็นการกำหนดมาตรการป้องกันและสร้างระบบเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพโดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมนพื้นที่เกาะบูโหลนอย่างจริงจังและต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อจัดทำสถานการณ์และพัฒนาระบบเฝ้าระวังการเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบของชาวเลและประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่เกาะบูโหลน
  2. 2 เพื่อพัฒนาศักยภาพของ อสม.และแกนนำชุมชนในการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันการเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบในกลุ่มชาวเลและกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่เกาะบูโหลน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาเสริมสร้างความตระหนักรู้ พฤติกรรมการป้องกันตนเองจากความเสี่ยงทางสุขภาพต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบในพื้นที่ชุมชนเกาะบูโหลน โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชน แกนนำชุมชน อสม. โรงเรียนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  2. จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพอสม./แกนนำชุมชน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการตรวจคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพ เฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง การสื่อสารความเสี่ยง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันการเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบ อสม. และแกนนำชุมชน
  3. อสม./แกนนำชุมชน ร่วมกับ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดตรัง และองค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ ดำเนินการ implement เชิงรุกในการตรวจคัดกรองความเสี่ยงฯโรคน้ำหนีบ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 6
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 14
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 แกนนำชุมชน อสม. และประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ความเข้าใจ เกิดความตระหนักรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันการเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบ
2 อสม. แกนนำชุมชน มีแนวทางการดำเนินงานเพื่อตรวจคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพ เพื่อสนับสนุนการเฝ้าระวัง ป้องกันการเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบในกลุ่มชาวเลและประชาชนกลุ่มเสี่ยง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อจัดทำสถานการณ์และพัฒนาระบบเฝ้าระวังการเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบของชาวเลและประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่เกาะบูโหลน
ตัวชี้วัด : ได้ชุดข้อมูลสถานการณ์การเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบ ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรค รวมถึงขนาดของปัญหาภัยสุขภาพในกลุ่มชาวเลผู้ประกอบอาชีพประมงและประชาชนกลุ่มเสี่ยง
0.00

 

2 2 เพื่อพัฒนาศักยภาพของ อสม.และแกนนำชุมชนในการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันการเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบในกลุ่มชาวเลและกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่เกาะบูโหลน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของแกนนำชุมชน อสม. มีความรู้ ความเข้าใจในการตรวจคัดกรองผู้ป่วยหรือคนกลุ่มเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบเบื้องต้นได้
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 6
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 14
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อจัดทำสถานการณ์และพัฒนาระบบเฝ้าระวังการเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบของชาวเลและประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่เกาะบูโหลน (2) 2 เพื่อพัฒนาศักยภาพของ อสม.และแกนนำชุมชนในการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันการเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบในกลุ่มชาวเลและกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่เกาะบูโหลน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาเสริมสร้างความตระหนักรู้ พฤติกรรมการป้องกันตนเองจากความเสี่ยงทางสุขภาพต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบในพื้นที่ชุมชนเกาะบูโหลน โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชน แกนนำชุมชน อสม. โรงเรียนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (2) จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพอสม./แกนนำชุมชน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการตรวจคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพ เฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง การสื่อสารความเสี่ยง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันการเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบ อสม. และแกนนำชุมชน (3) อสม./แกนนำชุมชน ร่วมกับ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดตรัง และองค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ ดำเนินการ implement เชิงรุกในการตรวจคัดกรองความเสี่ยงฯโรคน้ำหนีบ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาการเฝ้าระวังป้องกันโรคนํ้าหนีบ (Caisson Disease) ของชาวเลและประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่หมู่ที่3 บ้านเกาะบูโหลน ตำบลปากนํ้า อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5312-2-18

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายไพบูลย์ ชาวสวนศรีเจริญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด