กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการพัฒนาส่งเสริมการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมการรับสัมผัสสารตะกั่วของประชาชนกลุ่มเสี่ยงในชุมชนพื้นที่ หมู่ที่3 บ้านเกาะบูโหลน ตำบลปากนํ้า อำเภอละงู จังหวัดสตูล

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อจัดทำสถานการณ์สภาพความเสี่ยงและพัฒนาระบบเฝ้าระวังของการรับสัมผัสตะกั่วจากสถานที่ทำงานและสิ่งแวดล้อมในชุมชนพื้นที่เกาะบูโหลน
ตัวชี้วัด : ได้สถานการณ์สภาพความเสี่ยงและรูปแบบของการเฝ้าระวังการรับสัมผัสตะกั่วในกลุ่มคนทำงานอาชีพเสี่ยง รวมทั้งประชาชนกลุ่มเสี่ยงในชุมชนพื้นที่เกาะบูโหลน
0.00 0.00

 

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพของ อสม.และแกนนำชุมชนในการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันการรับสัมผัสตะกั่วไปยังประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่เกาะบูโหลน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของ แกนนำชุมชน อสม. ที่เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ เกิดความตระหนักและสามารถร่วมมือกันในการประเมินความเสี่ยง ตรวจคัดกรองสุขภาพตามความเสี่ยงของการรับสัมผัสตะกั่ว ได้
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดทำสถานการณ์สภาพความเสี่ยงและพัฒนาระบบเฝ้าระวังของการรับสัมผัสตะกั่วจากสถานที่ทำงานและสิ่งแวดล้อมในชุมชนพื้นที่เกาะบูโหลน (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพของ อสม.และแกนนำชุมชนในการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันการรับสัมผัสตะกั่วไปยังประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่เกาะบูโหลน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาเสริมสร้างความรู้ พฤติกรรมการป้องกันตนเองจากพิษภัยตะกั่วในประชาชนกลุ่มเสี่ยงของชุมชนพื้นที่เกาะบูโหลนฯ (2) จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพ อสม./แกนนำชุมชน ในการคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพ ประเมินความเสี่ยงของการรับสัมผัสตะกั่วในชุมชนฯ โดยประยุกต์ใช้แผนที่ระบาดวิทยาภาคประชาชน(Popular epidemiology) (3) อสม./แกนนำชุมชน ร่วมกับ วิทยลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดตรัง และองค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ ดำเนินการ implement เชิงรุกในการประเมินความเสี่ยงทางสิ่งแวดล้อม คัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพจากการรับสัมผัสตะกั่วฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh