กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสำรวจสภาพการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม สิ่งคุกคามสุขภาพ(Health Hazard) ในกลุ่มอาชีพเสี่ยงและประชาชนในชุมชนพื้นที่เกาะบูโหลน
ตัวชี้วัด : ได้ชุดข้อมูลสถานการณ์และฐานข้อมูลพื้นฐานทั่วไปและสภาพการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของครัวเรือนและชุมชน ในมิติต่างๆได้แก่ การจัดการขยะในครัวเรือนและชุมชน, ส้วม, การจัดการน้ำเสีย, การจัดการน้ำดื่ม-น้ำใช้ในครัวเรือนและชุมชน, สุขลักษณะของที่พักอาศัย, การจัดการด้านสุขาภิบาลอาหารในครัวเรือนและชุมชน รวมถึงการควบคุมป้องกันสัตว์พาหะนำโรค,ข้อมูลสถานการณ์ความเสี่ยงจากสิ่งคุกคามสุขภาพ(Health Hazard) ในกลุ่มอาชีพเสี่ยงและประชาชนทั่วไปในชุมชนพื้นที่เกาะบูโหลน
0.00

 

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพของชุมชนในการจัดการตนเองอย่างเข้มแข็งด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เกาะบูโหลน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของแกนนำชุมชน อสม. และประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ เกิดความตระหนักและสามารถจัดการตนเองด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ดีทั้งในระดับครัวเรือนและชุมชน เพิ่มขึ้น
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 5
กลุ่มวัยทำงาน 25
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสำรวจสภาพการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม สิ่งคุกคามสุขภาพ(Health Hazard) ในกลุ่มอาชีพเสี่ยงและประชาชนในชุมชนพื้นที่เกาะบูโหลน (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพของชุมชนในการจัดการตนเองอย่างเข้มแข็งด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เกาะบูโหลน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ดำเนินการสำรวจข้อมูลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและสิ่งคุกคามสุขภาพ(Health Hazard) ในกลุ่มอาชีพเสี่ยงและประชาชนทั่วไปในชุมชนพื้นที่เกาะบูโหลน (2) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ดีในชุมชน รวมถึงการหารือแนวทางแก้ไขปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วม กับผู้นำชุมชน แกนนำชุมชน อสม. โรงเรียน หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง (3) อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพอสม./แกนนำชุมชน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ดี สำหรับการพัฒนาการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนและชุมชน (4) แกนนำชุมชน ร่วมกับ วิทยาลัยการสาธารรสุขจังหวัดตรัง และอบต.ปากน้ำดำเนินการ implement เชิงรุกในการพัฒนาการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนและชุมชน (5) กิจกรรมมหกรรมบ้านต้นแบบด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh