กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการการจัดบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้ป่วยติดเตียงทุกกลุ่มอายุ (ยกเว้นผู้สูงอายุสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า) ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี 2562 (ประเภท 3)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการการจัดบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้ป่วยติดเตียงทุกกลุ่มอายุ (ยกเว้นผู้สูงอายุสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า) ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี 2562 (ประเภท 3) ”
อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางกัลยา ตั้งสิริวรกุล, นางอารีย์ วรคามิน




ชื่อโครงการ โครงการการจัดบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้ป่วยติดเตียงทุกกลุ่มอายุ (ยกเว้นผู้สูงอายุสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า) ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี 2562 (ประเภท 3)

ที่อยู่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L7884-3-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการจัดบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้ป่วยติดเตียงทุกกลุ่มอายุ (ยกเว้นผู้สูงอายุสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า) ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี 2562 (ประเภท 3) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการจัดบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้ป่วยติดเตียงทุกกลุ่มอายุ (ยกเว้นผู้สูงอายุสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า) ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี 2562 (ประเภท 3)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการจัดบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้ป่วยติดเตียงทุกกลุ่มอายุ (ยกเว้นผู้สูงอายุสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า) ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี 2562 (ประเภท 3) " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L7884-3-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 197,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยได้มีการปฏิรูประบบสุขภาพมาตั้งแต่ปี 2544 โดยกำหนดนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เพื่อสร้างหลักประกันให้คนไทยทุกคนสามารถเข้าถึงบริการด้านสุขภาพที่มีมาตรฐานและเท่าเทียมกัน ส่วนหนึ่งที่สำคัญในระบบประกันสุขภาพ คือการพัฒนางานบริการปฐมภูมิที่เน้นการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุกของบุคคล ครอบครัว ชุมชน เพิ่มสมรรถนะด้านการรักษาโรคเบื้องต้นของพยาบาล เพื่อให้สามารถลดปริมาณผู้ป่วยในโรงพยาบาล รวมถึงลดค่าใช้จ่ายทั้งในระดับครัวเรือนของประชาชน และงบประมาณของประเทศในระยะยาว     จากข้อมูลสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ระบุว่าปี 2551 มีผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 17.5 ล้านคน ใช้งบประมาณในการดูแลรักษาเป็นเงิน 308,227 ล้านบาทต่อปี และมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อย ๆ ทำให้ภาครัฐและเอกชนต้องใช้งบประมาณทั้งสิ้น 335,539 ล้านบาทต่อปี ในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ , 2551) ดังนั้นการพยาบาลผู้ป่วยที่บ้านจึงเป็นกลยุทธ์สำคัญที่ช่วยลดเวลาการนอนรักษาตัวในโรงพยาบาล ทำให้ปริมาณงานและค่าใช้จ่ายในภาพรวมลดลง โดยเน้นการจัดบริการสุขภาพแบบผสมผสานให้กับประชาชนทุกกลุ่มอายุ โดยมีการวางแผนการดูแลร่วมกับทีมสหวิชาชีพ เพื่อให้เกิดกระบวนการการดูผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องเชื่อมโยงจากโรงพยาบาลสู่ชุมชน ช่วยให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ผู้ดูแล/ญาติ สามารถปฏิบัติการดูแลได้เหมาะสม ป้องกันการเจ็บป่วยซ้ำ ปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อน ฟื้นหายหรือทุเลาจากความเจ็บป่วย มีสุขภาวะที่ดีที่สุดตามศักยภาพที่มีอยู่หรือใกล้เคียงกับภาวะปกติมากที่สุด สามารถพึ่งตนเองได้ภายใต้บริบทและสภาพแวดล้อมของครอบครัว โดยมีครอบครัวร่วมให้การดูแลช่วยเหลือ มีเครือข่ายติดต่อเจ้าหน้าที่ได้ตลอดเวลาเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ตั้งแต่ปี 2559 จนถึงปัจจุบัน รัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนให้มีการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ซึ่งระบุให้ดูแลเฉพาะผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่ใช้สิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดย สปสช. เป็นผู้สนับสนุนเงินในการบริหารจัดการ ทำให้ผู้ป่วยติดเตียงที่มีสิทธินอกเหนือสิทธิผู้สูงอายุประกันสุขภาพถ้วนหน้าไม่สามารถเข้าถึงบริการได้ สถานการณ์ของอำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี     - ปี พ.ศ. 2559 มีผู้ป่วยติดเตียง 96 ราย     - ปี พ.ศ. 2560 มีผู้ปวยติดเตียง 82 ราย     - ปี พ.ศ. 2561 มีผู้ป่วยติดเตียง 82 ราย สถานการณ์ของตำบลในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี     - ปี พ.ศ. 2559 มีผู้ป่วยติดเตียงที่เป็นผู้สูงอายุ สิทธิ UC (LTC) จำนวน 23 ราย สิทธิอื่น (ทุกสิทธิ ยกเว้น LTC) จำนวน 17 ราย รวมทั้งสิ้น 40 ราย     - ปี พ.ศ. 2560 มีผู้ป่วยติดเตียงที่เป็นผู้สูงอายุ สิทธิ UC (LTC) จำนวน 30 ราย สิทธิอื่น (ทุกสิทธิ ยกเว้น LTC) จำนวน 15 ราย รวมทั้งสิ้น 45 ราย     - ปี พ.ศ. 2561 มีผู้ป่วยติดเตียงที่เป็นผู้สูงอายุ สิทธิ UC (LTC) จำนวน 20 ราย สิทธิอื่น (ทุกสิทธิ ยกเว้น LTC) จำนวน 17 ราย รวมทั้งสิ้น 37 ราย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยติดเตียงทุกกลุ่มอายุ (ยกเว้นผู้สูงอายุสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า) ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ได้รับการบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขตามแผนการดูแลรายบุคคล (Care plan) โดยบุคลากรที่เกี่ยวข้องและผู้ดูแลผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง (Care giver) ที่ครัวเรือน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผุ้ป่วยติดเตียง (เหมาจ่ายถัวเฉลี่ยตาม care plan)
  2. ค่าเตียงฟาว์เล่อร์ 3 ไก สำหรับให้ผู้ป่วยติดเตียงหมุนเวียนยืมใช้ จำนวน 3 เตียง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 17
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ป่วยติดเตียงทุกกลุ่มอายุ (ยกเว้นผู้สูงอายุสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า) ในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองปัตตานี มีคุณภาพชีวิตที่ดีตามสภาวะที่เป็นอยู่ ลดภาระของครอบครัว


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยติดเตียงทุกกลุ่มอายุ (ยกเว้นผู้สูงอายุสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า) ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ได้รับการบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขตามแผนการดูแลรายบุคคล (Care plan) โดยบุคลากรที่เกี่ยวข้องและผู้ดูแลผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง (Care giver) ที่ครัวเรือน
ตัวชี้วัด : 1. การเกิดภาวะแทรกซ้อนที่บ้านไม่เกินร้อยละ 5 2. ญาติมีความพึงพอใจร้อยละ 80
17.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 17
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 17
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยติดเตียงทุกกลุ่มอายุ (ยกเว้นผู้สูงอายุสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า) ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ได้รับการบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขตามแผนการดูแลรายบุคคล (Care plan) โดยบุคลากรที่เกี่ยวข้องและผู้ดูแลผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง (Care giver) ที่ครัวเรือน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผุ้ป่วยติดเตียง (เหมาจ่ายถัวเฉลี่ยตาม care plan) (2) ค่าเตียงฟาว์เล่อร์ 3 ไก สำหรับให้ผู้ป่วยติดเตียงหมุนเวียนยืมใช้ จำนวน 3 เตียง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการจัดบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้ป่วยติดเตียงทุกกลุ่มอายุ (ยกเว้นผู้สูงอายุสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า) ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี 2562 (ประเภท 3) จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L7884-3-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกัลยา ตั้งสิริวรกุล, นางอารีย์ วรคามิน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด