กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม


“ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค สู่ รพ.สต.ควบคุมโรคเข้มแข็ง ปี 2562 ”

ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายเหมมันต์ มณีโรจน์

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค สู่ รพ.สต.ควบคุมโรคเข้มแข็ง ปี 2562

ที่อยู่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L3306-2-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 พฤษภาคม 2562 ถึง 31 ธันวาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค สู่ รพ.สต.ควบคุมโรคเข้มแข็ง ปี 2562 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค สู่ รพ.สต.ควบคุมโรคเข้มแข็ง ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค สู่ รพ.สต.ควบคุมโรคเข้มแข็ง ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2562-L3306-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 พฤษภาคม 2562 - 31 ธันวาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,157.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดต่อเป็นโรคที่ต้องมีการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา เช่น โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน โรคไข้เลือดออก โรคตาแดง โรคอาหารเป็นพิษ โรคสุกใส โรคมือเท้าปาก ฯลฯ การแพร่ระบาดของโรคติดต่อมักมีโอกาสที่จะแพร่กระจายได้ง่ายและรวดเร็ว ผลกระทบที่ร้ายแรงคือการทำให้อวัยวะทุกส่วนในร่างกายล้มเหลว อาจถึงแก่ชีวิตได้ จากการคืนข้อมูลสุขภาพของชุมชน พบว่า สถานการณ์โรคติดเชื้อในชุมชนยังคงมีโรคที่ระบาดอยู่เป็นประจำทุกปี แม้ไม่มีอัตราป่วยตายก็ตาม แต่ผู้ป่วยก็จะได้รับความทุกข์ทรมานจากการเป็นโรคและสูญเสียค่าใช้จ่ายจากการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้น โดยระยะเวลา 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2557-2560 และปี 2561 เฉพาะ ม.ค.-ก.ย.2561) พบอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงเป็นอันดับหนึ่งและมีแนวโน้มแพร่ระบาดทุกปี ได้แก่ 1,024.98 , 1,102.36 , 1,700.57 , 1,514.25 และ 1,179.64 ต่อแสนประชากรตามลำดับ , โรคไข้เลือดออก อัตราป่วย 256.25 , 0 , 333.44 , 801.66 และ 134.82 ต่อแสนประชากรตามลำดับ , โรคตาแดง อัตราป่วย 160.15 , 503.94 , 300.10 , 59.38 และ 33.70 ต่อแสนประชากรตามลำดับ , โรคอาหารเป็นพิษ อัตราป่วย 128.12 , 220.47 , 300.10 , 29.69 และ 33.70ต่อแสนประชากรตามลำดับ , โรคสุกใส อัตราป่วย 32.03 , 125.98 , 33.34 , 89.07 และ 33.70 , โรควัณโรค อัตราป่วย 64.06 , 31.50 , 66.69 , 29.69 , 0 , 0 ต่อแสนประชากรตามลำดับ รวมถึงในปี 2561 เกิดโรคมือเท้าปากขึ้นในโรงเรียน จำวน 5 ราย อัตราป่วย 29.69 ต่อแสนประชากรตามลำดับ ซึ่งจากการระบาดของโรคดังกล่าวข้างต้น จะทำให้มีโอกาสเกิดโรคระบาดซ้ำอยู่ในปีถัดไป ซึ่งอาจมีปัจจัยของภัยสุขภาพอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้องได้แก่ ขยะ มูลสัตว์ น้ำโสโครกที่ทำให้เกิดโรคกับประชาชนในชุมชนได้ เช่น ถังขยะไม่มีการเก็บที่มิดชิด เป็นแหล่งเพาะพันธุ์แมลงวัน สุนัขหรือแมวกัดกินอาหารและขยะตามถังเก็บขยะที่ตั้งอยู่หน้าบ้าน , น้ำขังในบ้านเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ดังนั้นหากปัญหาดังกล่าวข้างต้นได้รับการแก้ไข เร่งสร้างความตระหนักในการป้องกันโรค และสนับสนุนการมีส่วนร่วมในการกำจัดโรคในชุมชนอย่างเหมาะสม จะทำให้อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อและผลกระทบด้านสุขภาพต่อประชาชนในชุมชนลดลง ประชาชนในชุมชนสามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุขด้วยสุขภาวะที่ดี         ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 9 บ้านโล๊ะจังกระ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รวมถึงภาคีเครือข่ายอื่นๆ ในชุมชน ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาโรคติดต่อและปัจจัยของภัยสุขภาพอื่นๆที่เกี่ยวข้อง จึงดำเนินการจัดโครงการควบคุม ป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชน ปีงบประมาณ 2562 ขึ้น เพื่อดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชน รวมถึงเป็นการสร้างเกราะป้องกันและรณรงค์ให้เกิดจิตสำนึกของชุมชนให้มีส่วนร่วมในการสร่างสุขภาพที่ดี ส่งผลต่อการลดลงของอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชนของและการมีสุขภาพดีถ้วนหน้าอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราป่วยและอัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย
  2. เพื่อลดอัตราป่วยและอัตราป่วยตายด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้
  3. .เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ มีความตระหนัก และร่วมมือกันกำจัดลูกน้ำยุงลาย ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้านเรือน ชุมชนของตนเอง ร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะ
  4. เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ประชาชน ชุมชน มีส่วนร่วมและดำเนินการควบคุมโรค
  5. เพื่อพัฒนาคุณภาพการควบคุมวัณโรคโดยกลยุทธ์ DOTS ให้มีคุณภาพทำให้เพิ่มอัตราการรักษาหาย/รักษาสำเร็จ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. งานป้องกันโรคล่วงหน้า
  2. อบรมให้ความรู้
  3. งานควบคุมโรคขณะเกิดโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ลดอัตราป่วยและอัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย     ๒. ลดอัตราป่วยและอัตราป่วยตายด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้     ๓. ประชาชนมีความรู้ มีความตระหนัก และร่วมมือกันกำจัดลูกน้ำยุงลาย ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้านเรือน ชุมชนของตนเอง ร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะ
    ๔. ประชาชน ชุมชน มีส่วนร่วมและดำเนินการควบคุมและป้องกันโรค     ๕. กระบวนการควบคุมวัณโรคโดยกลยุทธ์ DOTS มีคุณภาพ อัตราการรักษาหาย/รักษาสำเร็จ     6. มีชุมชน สะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย ปลอดโรค อย่างน้อย 1 ชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. งานป้องกันโรคล่วงหน้า

วันที่ 27 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ลงประเมินหมู่บ้านสะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ลงประเมิน จำนวน 3 หมู่บ้าน

 

500 0

2. งานควบคุมโรคขณะเกิดโรค

วันที่ 27 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมควบคุมโรค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินการพ่นหมอกควันทำลายตัวเต็มวัย

 

0 0

3. อบรมให้ความรู้

วันที่ 27 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมสรุปผลความสำเร็จของการควบคุมโรค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ความสำเร็จของการควบคุมโรค

 

24 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราป่วยและอัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย
ตัวชี้วัด : 1 ลดอัตราป่วย(Incidence Rate) ของโรคติดต่อที่ป้องกันได้ ไม่เกิน ๘๐ ต่อแสนประชากร 2 ไม่มีอัตราป่วยตาย(Case Fatality Rate) ด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ 3 อัตราการค้นพบผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เสมหะบวกในกลุ่มเสี่ยงร้อยละ ๗๐
0.00

 

2 เพื่อลดอัตราป่วยและอัตราป่วยตายด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้
ตัวชี้วัด : 1 ลดอัตราป่วย(Incidence Rate) ของโรคติดต่อที่ป้องกันได้ ไม่เกิน ๘๐ ต่อแสนประชากร 2 ไม่มีอัตราป่วยตาย(Case Fatality Rate) ด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ 3 อัตราการค้นพบผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เสมหะบวกในกลุ่มเสี่ยงร้อยละ ๗๐
0.00

 

3 .เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ มีความตระหนัก และร่วมมือกันกำจัดลูกน้ำยุงลาย ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้านเรือน ชุมชนของตนเอง ร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะ
ตัวชี้วัด : 1 มีการพัฒนาศักยภาพทีม SRRT ของหน่วยบริการ ๑ ครั้ง/ ปี 2 หมู่บ้านมีค่า HI<๑๐ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ 3 สถานที่ราชการ โรงเรียน วัด มีค่า CI=๐ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐๐ 4 หมู่บ้านทุกหมู่บ้านมีอัตราความชุกของลูกน้ำยุงลายในบ้านเรือน (House Index) ไม่เกิน ร้อยละ ๑๐ 5 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สถานบริการสาธารณสุข และวัด ในพื้นที่รับผิดชอบปลอดลูกน้ำยุงลาย
0.00

 

4 เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ประชาชน ชุมชน มีส่วนร่วมและดำเนินการควบคุมโรค
ตัวชี้วัด : 1 มีการพัฒนาศักยภาพทีม SRRT ของหน่วยบริการ ๑ ครั้ง/ ปี 2 หมู่บ้านมีค่า HI<๑๐ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ 3 สถานที่ราชการ โรงเรียน วัด มีค่า CI=๐ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐๐ 4 หมู่บ้านทุกหมู่บ้านมีอัตราความชุกของลูกน้ำยุงลายในบ้านเรือน (House Index) ไม่เกิน ร้อยละ ๑๐ 5 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สถานบริการสาธารณสุข และวัด ในพื้นที่รับผิดชอบปลอดลูกน้ำยุงลาย
0.00

 

5 เพื่อพัฒนาคุณภาพการควบคุมวัณโรคโดยกลยุทธ์ DOTS ให้มีคุณภาพทำให้เพิ่มอัตราการรักษาหาย/รักษาสำเร็จ
ตัวชี้วัด : 1 อัตราความสำเร็จของการรักษาวัณโรค ( Success rate ) มากกว่า ร้อยละ ๙๐ 2 อัตราการรักษาหาย ( Cure rate ) มากกว่า ร้อยละ ๙๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยและอัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย (2) เพื่อลดอัตราป่วยและอัตราป่วยตายด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ (3) .เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้  มีความตระหนัก  และร่วมมือกันกำจัดลูกน้ำยุงลาย ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้านเรือน ชุมชนของตนเอง  ร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะ (4) เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ประชาชน ชุมชน มีส่วนร่วมและดำเนินการควบคุมโรค (5) เพื่อพัฒนาคุณภาพการควบคุมวัณโรคโดยกลยุทธ์ DOTS ให้มีคุณภาพทำให้เพิ่มอัตราการรักษาหาย/รักษาสำเร็จ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) งานป้องกันโรคล่วงหน้า (2) อบรมให้ความรู้ (3) งานควบคุมโรคขณะเกิดโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค สู่ รพ.สต.ควบคุมโรคเข้มแข็ง ปี 2562 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L3306-2-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเหมมันต์ มณีโรจน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด