กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา


“ ร่วมด้วยช่วยกันรักษ์ฟันของหนู ม.1 เทศบาลตำบลเทพา ”

ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายแพทย์เดชา แซ่หลี

ชื่อโครงการ ร่วมด้วยช่วยกันรักษ์ฟันของหนู ม.1 เทศบาลตำบลเทพา

ที่อยู่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มิถุนายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"ร่วมด้วยช่วยกันรักษ์ฟันของหนู ม.1 เทศบาลตำบลเทพา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ร่วมด้วยช่วยกันรักษ์ฟันของหนู ม.1 เทศบาลตำบลเทพา



บทคัดย่อ

โครงการ " ร่วมด้วยช่วยกันรักษ์ฟันของหนู ม.1 เทศบาลตำบลเทพา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มิถุนายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,475.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพฟันของเด็กมีความสัมพันธ์กับสุขภาพโดยรวมของเด็ก การมีสุขภาพฟันดี ฟันไม่ผุ ย่อมส่งผลดีในเรื่องการเคี้ยวอาหาร การพูด การยิ้มของเด็ก สิ่งเหล่านี้ช่วยสร้างความเชื่อมั่นในตนเองให้แก่เด็ก นอกจากนี้หากฟันน้ำนมหลุดไปตามวัยที่ควร จะทำให้ฟันแท้ขึ้นได้ตรง เด็กในช่วงปฐมวัยเป็นช่วงเวลาการพัฒนานิสัยในทุกๆด้าน ดังนั้นการส่งเสริมการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กให้มีคุณภาพดีจึงมีความสำคัญยิ่ง เพื่อการบ่มเพาะสุขนิสัยการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้องแก่เด็กตั้งแต่วัยเริ่มแรกของชีวิต ซึ่งจะต้องพัฒนาเป็นแบบแผนพฤติกรรมทันตสุขภาพที่ดีต่อเนื่องถึงเติบใหญ่ และสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ การดูแลสุขภาพช่องปากมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดูแลตั้งแต่เด็กแรกคลอด เพราะหากเด็กมีพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง ได้แก่ การหลับคาขวด การไม่ดื่มน้ำตามหลังจากดื่มนมขวด การดื่มนมที่มีรสหวาน หากเด็กมีพฤติกรรมเหล่านี้ติดเป็นนิสัยจนกระทั่งฟันงอกก็อาจส่งผลให้เด็กฟันผุ ซึ่งโรคฟันผุในเด็กนับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญอย่างหนึ่งของประเทศไทย ก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพอนามัยของเด็ก ซึ่งวัยนี้เป็นช่วงเวลาที่สำคัญที่สุดในการเตรียมความพร้อมทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม สติปัญญา และเป็นพื้นฐานของการสร้างพฤติกรรมต่าง ๆ เพื่อการเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีและมีคุณภาพในอนาคต ดังนั้นหากปล่อยให้เด็กมีสภาวะในช่องปากไม่ดี จะส่งผลเสียต่อสุขภาพร่างกายของเด็กได้ โดยเมื่อโรคฟันผุลุกลามถึงโพรงประสาทฟันหรือเมื่อเกิดการอักเสบ ทำให้เกิดความเจ็บปวด เคี้ยวอาหารไม่ได้ มีผลกระทบต่อระบบทางเดินอาหาร และสภาพจิตใจ เนื่องจากอาการปวดฟันจะทำให้เด็กเกิดความเครียดทางอารมณ์ หงุดหงิดง่าย มีความวิตกกังวล เสียบุคลิกภาพและขาดความมั่นใจในการพูดคุย นอกจากนั้นยังจะส่งผลกระทบต่อครอบครัวและประเทศชาติด้วย เนื่องจากต้องเสียเวลาในการประกอบภารกิจการงาน ทำให้ขาดรายได้ และต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาที่มีมูลค่าสูงเริ่มแรกของชีวิต ซึ่งจะต้องพัฒนาเป็นแบบแผนพฤติกรรมทันตสุขภาพที่ดีต่อเนื่องถึงเติบใหญ่ และสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ การดูแลสุขภาพช่องปากมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดูแลตั้งแต่เด็กแรกคลอด เพราะหากเด็กมีพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง ได้แก่ การหลับคาขวด การไม่ดื่มน้ำตามหลังจากดื่มนมขวด การดื่มนมที่มีรสหวาน หากเด็กมีพฤติกรรมเหล่านี้ติดเป็นนิสัยจนกระทั่งฟันงอกก็อาจส่งผลให้เด็กฟันผุ ซึ่งโรคฟันผุในเด็กนับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญอย่างหนึ่งของประเทศไทย ก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพอนามัยของเด็ก ซึ่งวัยนี้เป็นช่วงเวลาที่สำคัญที่สุดในการเตรียมความพร้อมทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม สติปัญญา และเป็นพื้นฐานของการสร้างพฤติกรรมต่าง ๆ เพื่อการเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีและมีคุณภาพในอนาคต ดังนั้นหากปล่อยให้เด็กมีสภาวะในช่องปากไม่ดี จะส่งผลเสียต่อสุขภาพร่างกายของเด็กได้ โดยเมื่อโรคฟันผุลุกลามถึงโพรงประสาทฟันหรือเมื่อเกิดการอักเสบ ทำให้เกิดความเจ็บปวด เคี้ยวอาหารไม่ได้ มีผลกระทบต่อระบบทางเดินอาหาร และสภาพจิตใจ เนื่องจากอาการปวดฟันจะทำให้เด็กเกิดความเครียดทางอารมณ์ หงุดหงิดง่าย มีความวิตกกังวล เสียบุคลิกภาพและขาดความมั่นใจในการพูดคุย นอกจากนั้นยังจะส่งผลกระทบต่อครอบครัวและประเทศชาติด้วย เนื่องจากต้องเสียเวลาในการประกอบภารกิจการงาน ทำให้ขาดรายได้ และต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาที่มีมูลค่าสูงจากผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศ ครั้งที่ 8 พ.ศ. 2560 พบว่า เด็กอายุ 3 ปี ซึ่งเป็นช่วงอายุที่มีฟันน้ำนมครบ 20 ซี่ในช่องปาก มีความชุกในการเกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนม ร้อยละ 52.9 สำหรับอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปาก ในปี พ.ศ. 2561 พบว่า มีโรคฟันผุในเด็กอายุ 18 เดือน ร้อยละ 6.8 และเพิ่มขึ้นอย่างมากเป็นร้อยละ 58.3 ในเด็กอายุ 3 ปี ซึ่งพบว่ายังมีฟันผุอยู่ในเกณฑ์ที่สูงมากเมื่อเปรียบเทียบกับในระดับประเทศและในระดับจังหวัดสงขลา และจากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากในเขตคลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน ศูนย์ 1ในปี 2561 พบว่าเด็กอายุ 18 เดือน มีฟันผุร้อยละ 5.0 และมีฟันผุระยะเริ่มแรก ร้อยละ 30 นอกจากนี้พบว่า เด็กมีการดื่มนมเปรี้ยว นมหวานร้อยละ 70 ใช้ขวดนมร้อยละ 62.5 กินขนมที่มีแป้งและน้ำตาลเป็นส่วนประกอบร้อยละ 87.5 และพบว่ามีเด็กเพียงร้อยละ 70 ที่ได้รับการแปรงฟันก่อนนอน และร้อยละ 65 ได้รับการแปรงฟันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้งต่อวัน และเมื่อสำรวจสภาวะช่องปากของเด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 จากการสำรวจในเด็กจำนวน 373 คน พบมีฟันน้ำนมผุ 283 คน คิดเป็นร้อยฟละ 75.87 ซึ่งจะเห็นได้ว่าเด็กในศพด.มีฟันผุเพิ่มขึ้นสูงมากเมื่อเปรียบเทียบจากเด็ก 18 เดือน สาเหตุส่วนหนึ่งอาจเนื่องมาจากพฤติกรรมการทำความสะอาดช่องปากและการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมของเด็ก
ดังนั้น ผู้ที่มีส่วนสำคัญที่จะทำให้การดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กเป็นไปได้ด้วยดีอย่างต่อเนื่องก็คือ สถาบันครอบครัวซึ่งเป็นส่วนสำคัญของปัญหาพฤติกรรมสุขภาพด่านแรก ในขณะเดียวกันก็มีอิทธิพลต่อการบริโภคของเด็ก ๆ ดังนั้น กลุ่มงาน ทันตกรรม โรงพยาบาลเทพา จึงได้จัดทำโครงการร่วมด้วยช่วยกันรักษ์ฟันของหนู ม.1 เทศบาลตำบลเทพา โดยให้ผู้ปกครองที่เลี้ยงดูเด็กมีส่วนร่วมในการดูแลเด็กให้มากที่สุด มีเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และอสม. เป็นผู้สนับสนุนและผลักดันให้เกิดพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ถูกต้อง และจะเป็นส่วนช่วยให้เกิดความเข้มแข็งในประเด็นสุขภาพอื่น ๆ ต่อไปด้วย เพื่อเป้าหมายที่สำคัญคือการลดโรคฟันผุในเด็กเล็ก และนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีทั้งของเด็กและผู้ปกครอง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก 0-2 ปี มีความรู้ที่ถูกต้องและสามารถแปรงฟันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. . เพื่อให้เด็ก 0-2 ปี ที่ฟันขึ้นแล้วได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช
  3. เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุระยะเริ่มแรกในเด็ก 0-2 ปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และอสม. รับสมัครอสม.พี่เลี้ยงแต่ละหมู่บ้าน
  2. ประชุม อสม. พี่เลี้ยง เพื่อให้ความรู้การดูแลสุขภาพช่องปากและฝึกการแปรงฟันในเด็ก 0-2 ปี และร่วมกันกำหนด บทบาท อสม.พี่เลี้ยง
  3. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มผู้ปกครองเด็ก 0-2 ปี
  4. - ทันตบุคลากร และอสม. เยี่ยมบ้านเพื่อฝึกการทำความสะอาดช่องปากเด็ก ตรวจช่องปากเด็ก และทาฟลูออไรด์วานิชในกรณีที่ผู้ปกครองไม่ได้มาร่วมกิจกรรม
  5. ประเมินและติดตามผลการดำเนินงาน
  6. - มอบรางวัลแก่เด็กและผู้ปกครองที่มาเข้าร่วมกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอโดยไม่ต้องติดตาม
  7. ประเมินและติดตามผลการดำเนินงาน
  8. สรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 65
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เกิดการเรียนรู้และทักษะในการดูแลช่องปากทั้งผู้ปกครองและลูก สามารถป้องกันโรคฟันผุได้ ลดต้นทุนภาระค่าใช้จ่ายด้านการรักษาพยาบาล     2. เกิดเครือข่ายการสร้างเสริมสุขภาพในการดูแลทันตสุขภาพ     3. เป็นแนวทางในการวางแผนทันตสาธารณสุขในเด็ก 0-2 ปี
        4. ฟันผุของเด็กอายุ 3 ปี ลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. - ทันตบุคลากร และอสม. เยี่ยมบ้านเพื่อฝึกการทำความสะอาดช่องปากเด็ก ตรวจช่องปากเด็ก และทาฟลูออไรด์วานิชในกรณีที่ผู้ปกครองไม่ได้มาร่วมกิจกรรม

วันที่ 10 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

รณรงค์ทาฟลูออไรด์วานิชโดยทันตบุคลากรในเด็ก0-2ปี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รณรงค์ทาฟลูออไรด์วานิชโดยทันตบุคลากรในเด็ก0-2ปี  จำนวน 65 คน ทุก 3 เดือน

 

65 0

2. ประชุมเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และอสม. รับสมัครอสม.พี่เลี้ยงแต่ละหมู่บ้าน

วันที่ 24 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอสม.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมเจ้าหน้าที่ 8 คน อสม. 20 คน

 

20 0

3. ประชุม อสม. พี่เลี้ยง เพื่อให้ความรู้การดูแลสุขภาพช่องปากและฝึกการแปรงฟันในเด็ก 0-2 ปี และร่วมกันกำหนด บทบาท อสม.พี่เลี้ยง

วันที่ 9 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมอสม.พี่เลี้ยง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมอสม.พี่เลี้ยง เพื่อให้ความรู้การดูแลสุขภาพช่องปากและฝึกการแปรงฟันในเด็ก 0-2 ปี ร่วมกันกำหนดบทบาทอสม.พี่เลี้ยง

 

16 0

4. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มผู้ปกครองเด็ก 0-2 ปี

วันที่ 19 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมแลกเปลี่ยนรู้ผู้ปกครอง อสม.พี่เลี้ยง และเจ้าหน้าที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มผู้ปกครองเด็ก 0-2 ปี โดย -แจ้งสถานการณ์การเกิดฟันผุของเด็ก 0-2 ปี ในเขตเทศบาลตำบลเทพา และให้ผู้ปกครองร่วมแสดงความคิดเห็น

 

83 0

5. ประเมินและติดตามผลการดำเนินงาน

วันที่ 11 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ทันตบุคลากร และอสม.เยี่ยมบ้านเพื่อฝึกการทำความสะอาดช่องปากเด็ก ตรวจช่องปากเด็้ก และทาฟลูออไรด์วานิชในกรณีที่ผู้ปกครองไม่ได้มาร่วมกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทันตบุคลากร และอสม.เยี่ยมบ้านเพื่อฝึกการทำความสะอาดช่องปากเด็ก ตรวจช่องปากเด็้ก และทาฟลูออไรด์วานิชในกรณีที่ผู้ปกครองไม่ได้มาร่วมกิจกรรม

 

65 0

6. ประเมินและติดตามผลการดำเนินงาน

วันที่ 12 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ประเมินและติดตามผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประเมินและติดตามผลการดำเนินงาน

 

0 0

7. - มอบรางวัลแก่เด็กและผู้ปกครองที่มาเข้าร่วมกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอโดยไม่ต้องติดตาม

วันที่ 16 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

มอบรางวัลแก่เด็กและผู้ปกครองที่มาเข้าร่วมกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอโดยไม่ต้องติดตาม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มอบรางวัลแก่เด็กและผู้ปกครองที่มาเข้าร่วมกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอโดยไม่ต้องติดตาม

 

65 0

8. สรุปผลการดำเนินงาน

วันที่ 20 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

สรุปผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดทำรายงานเอกสาร

 

65 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก 0-2 ปี มีความรู้ที่ถูกต้องและสามารถแปรงฟันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ปกครองเด็ก0-2 ปีที่ฟันยังไม่ขึ้นสามารถเช็ดช่องปากเด็กได้ถูกต้อง สะอาด อย่างน้อยร้อยละ 80 2. ผู้ปกครองเด็ก0-2ปีที่ฟันขึ้นแล้วสามารถแปรงฟันเด็กได้ถูกต้อง สะอาด อย่างน้อยร้อยละ 80
80.00 84.61

 

2 . เพื่อให้เด็ก 0-2 ปี ที่ฟันขึ้นแล้วได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช
ตัวชี้วัด : เด็ก0-2ปีที่ฟันขึ้นแล้วได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช อย่างน้อยร้อยละ 70
70.00 100.00

 

3 เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุระยะเริ่มแรกในเด็ก 0-2 ปี
ตัวชี้วัด : สภาวะโรคฟันผุระยะเริ่มแรกในเด็ก 0-2 ปี ไม่เกินร้อยละ 20
20.00 21.21

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 65 65
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 65 65
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก 0-2 ปี มีความรู้ที่ถูกต้องและสามารถแปรงฟันได้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) . เพื่อให้เด็ก 0-2 ปี ที่ฟันขึ้นแล้วได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช (3) เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุระยะเริ่มแรกในเด็ก 0-2 ปี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และอสม. รับสมัครอสม.พี่เลี้ยงแต่ละหมู่บ้าน (2) ประชุม อสม. พี่เลี้ยง เพื่อให้ความรู้การดูแลสุขภาพช่องปากและฝึกการแปรงฟันในเด็ก 0-2 ปี และร่วมกันกำหนด บทบาท อสม.พี่เลี้ยง (3) ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มผู้ปกครองเด็ก 0-2 ปี (4) - ทันตบุคลากร และอสม. เยี่ยมบ้านเพื่อฝึกการทำความสะอาดช่องปากเด็ก ตรวจช่องปากเด็ก และทาฟลูออไรด์วานิชในกรณีที่ผู้ปกครองไม่ได้มาร่วมกิจกรรม (5) ประเมินและติดตามผลการดำเนินงาน (6) - มอบรางวัลแก่เด็กและผู้ปกครองที่มาเข้าร่วมกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอโดยไม่ต้องติดตาม (7) ประเมินและติดตามผลการดำเนินงาน (8) สรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ ร่วมด้วยช่วยกันรักษ์ฟันของหนู ม.1 เทศบาลตำบลเทพา

ระยะเวลาโครงการ 10 มิถุนายน 2562 - 30 กันยายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

ร่วมด้วยช่วยกันรักษ์ฟันของหนู ม.1 เทศบาลตำบลเทพา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายแพทย์เดชา แซ่หลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด