กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล


“ โครงการเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดีตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ”

ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายสมเกียรติ ฤทธิศักดิ์

ชื่อโครงการ โครงการเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดีตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

ที่อยู่ ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5192-2-2 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดีตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดีตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดีตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5192-2-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 52,395.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากรายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 8 พ.ศ. 2560 โดยสำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พบว่า กลุ่มเด็กอายุ 12 ปี มีประสบการณ์โรคฟันแท้ผุร้อยละ 52.0 ค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด 1.4 ซี่ต่อคน มีภาวะเหงือกอักเสบ 66.3% มากกว่าครึ่งหนึ่งของเด็กมีปัญหาการเกิดโรคฟันผุ ซึ่งมีปัจจัยเสี่ยงสำคัญ คือ พฤติกรรมการทำความสะอาดช่องปากที่ไม่เหมาะสม และพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีแป้งและน้ำตาลสูง เช่น น้ำหวาน น้ำอัดลม ลูกอม ขนมกรุบกรอบ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตามกระแสนิยม การมีโรคฟันผุเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบทั้งในระดับบุคคล สังคม และเศรษฐกิจ การป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาตั้งแต่เริ่มต้นจึงเป็นสิ่งสำคัญ โดยเฉพาะในเด็กวัยประถมศึกษา ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อฟันผุสูง เนื่องจากเป็นวัยที่เริ่มมีฟันแท้ขึ้นมาในช่องปาก สภาวะช่องปากของเด็กในกลุ่มนี้สามารถสะท้อนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพช่องปากในโรงเรียนได้เป็นอย่างดี ดังนั้น นักเรียนจึงเป็นกลุ่มเป้าหมายหลักในการสร้างเสริมพฤติกรรมและสร้างสุขนิสัยที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง ซึ่งจำเป็นต้องมีการดำเนินการร่วมกันทั้งภาคการศึกษา ภาคสาธารณสุข และภาคประชาชน สอดคล้องกับสำนักทันตสาธารณสุขได้สนับสนุนให้เกิดการรวมตัวของโรงเรียนในรูปของ “เครือข่าย” ภายใต้ชื่อ “เครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี” มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนาเครือข่ายและขยายผลแนวทางการจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียน เน้นกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และระบบพี่เลี้ยงในการทำงาน โดยใช้ประเด็นทันตสุขภาพเป็นประเด็นนำ มุ่งหวังให้มีการดำเนินกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียนอย่างยั่งยืน ส่งผลให้เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดีต่อไป เพื่อให้การดำเนินการส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียน สามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นการส่งเสริมป้องกันไม่ให้โรคในช่องปากเด็กวัยประถมศึกษาลุกลามและทวีความรุนแรงมากขึ้นกว่าเดิม จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายในชุมชนทั้ง ทันตบุคลากร ผู้ปกครอง อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ตลอดถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว เครือข่ายสถานศึกษาลำไพลซึ่งประกอบด้วย โรงเรียนบ้านแม่ที โรงเรียนบ้านลำไพล โรงเรียนลำไพลราษฎร์อุทิศ โรงเรียนบ้านลำเปา โรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ โรงเรียนบ้านท่าไทร โรงเรียนวัดปริก และโรงเรียนบ้านควนเจดีย์ ร่วมกันในการดำเนินงานส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียนในรูปแบบของเครือข่ายภายใต้ชื่อ “เครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดีลำไพล” จึงร่วมกับเทศบาลตำบลลำไพลและหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ โดยมี กลุ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาลเทพา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำไพล และคลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชนศูนย์ 3 จัดทำโครงการนี้ขึ้นโดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อการสร้างเสริมพฤติกรรมที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กและของตนเองได้อย่างยั่งยืนและเผยแพร่สู่ชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้โรงเรียนในเครือข่ายจัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ครอบคลุมทุกชั้นเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้โรงเรียนในเครือข่ายปลอดน้ำอัดลม ขนมกรุบกรอบ ลูกอม ไอศกรีม และเครื่องดื่มรสหวาน (น้ำตาลไม่เกิน 5%) และมีการจัดอาหารกลางวันที่ถูกหลักโภชนาการและจัดอาหารว่างที่เหมาะสมให้นักเรียน
  3. ข้อที่ 3 เพื่อให้โรงเรียนในเครือข่ายมีการบูรณาการหลักสูตรการเรียนรู้ด้านทันตสุขภาพครอบคลุมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้และทุกชั้นเรียน
  4. ข้อที่ 4 เพื่อให้ครูอนามัย และแกนนำนักเรียนมีความรู้เรื่องการเก็บข้อมูลทันตสุขภาพของนักเรียนโรงเรียนในเครือข่าย
  5. ข้อที่ 5 เพื่อให้ครูอนามัย และเจ้าหน้าที่ธุรการโรงเรียนในเครือข่ายมีความรู้เรื่องจัดเก็บข้อมูลด้านทันสุขภาพในโรงเรียนโดยใช้ Google from
  6. ข้อที่ 6 เพื่อให้โรงเรียนในเครือข่ายมีการจัดทำโครงงาน/นวัตกรรม/งานวิจัยด้านทันตสุขภาพ อย่างน้อยโรงเรียนละ 1 เรื่อง
  7. ข้อที่ 7 เพื่อให้โรงเรียนในเครือข่ายจัดรณรงค์และประกวดวิชาการด้านทันตสุขภาพ และเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างโรงเรียน
  8. ข้อที่ 8 เพื่อให้โรงเรียนในเครือข่ายเกิดมุมทันตสุขศึกษาเพื่อให้นักเรียนตลอดจนบุคคลทั่วไปได้มีความรู้เรื่องสุขภาพช่องปาก ภายในโรงเรียนในเครือข่าย
  9. ข้อที่ 9 เพื่อสร้างเครือข่ายสังคมออนไลน์ในการติดตามข้อมูลข่าวสาร การประชาสัมพันธ์ และความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพช่องช่องปากเด็กตามช่วงอายุ
  2. จัดรณรงค์และประกวดวิชาการด้านทันตสุขภาพ
  3. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการเก็บข้อมูลทันตสุขภาพ
  4. การจัดซื้อจัดจ้าง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 131
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพาให้การสนับสนุนทางวิชาการและทรัพยากรต่าง ๆ ช่วยกระตุ้นและส่งเสริมกระบวนการสร้างเครือข่าย เอื้ออำนวยให้เกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การทำงานร่วมกันภายในเครือข่าย เกิดการกำหนดนโยบายส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียนเพื่อให้การดำเนินการส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียน สามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. โรงเรียนในเครือข่ายจัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ครอบคลุมทุกชั้นเรียน
  3. โรงเรียนในเครือข่ายปลอดน้ำอัดลม ขนมกรุบกรอบ ลูกอม ไอศกรีม และเครื่องดื่มรสหวาน (น้ำตาลไม่เกิน 5%) และมีการจัดอาหารกลางวันที่ถูกหลักโภชนาการและจัดอาหารว่างที่เหมาะสมให้นักเรียน
  4. โรงเรียนในเครือข่ายมีการบูรณาการหลักสูตรการเรียนรู้ด้านทันตสุขภาพครอบคลุมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้และทุกชั้นเรียน
  5. โรงเรียนในเครือข่ายมีระบบเฝ้าระวังทันตสุขภาพทุกโรงเรียน ครอบคลุมทุกชั้นเรียน โดยมีครูหรือทันตบุคลากรเป็นผู้ตรวจสุขภาพช่องปากนักเรียน อย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง มีการวิเคราะห์ข้อมูลและสะท้อนข้อมูลแก่ผู้บริหาร ผู้ปกครอง และชุมชน รวมทั้งมีการให้บริการรักษาทางทันตกรรมแก่นักเรียน และการส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่เหมาะสม
  6. โรงเรียนในเครือข่ายมีการจัดทำโครงงาน/นวัตกรรม/งานวิจัยด้านทันตสุขภาพ อย่างน้อยโรงเรียนละ 1 เรื่อง และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างโรงเรียนในเครือข่ายและนอกเครือข่าย และจัดรณรงค์และประกวดวิชาการด้านทันตสุขภาพ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างโรงเรียน
  7. เกิดมุมทันตสุขศึกษาเพื่อให้นักเรียนตลอดจนบุคคลทั่วไปได้มีความรู้เรื่องสุขภาพช่องปาก ภายในโรงเรียนในเครือข่าย ซึ่งประกอบด้วย โรงเรียนบ้านแม่ที โรงเรียนบ้านลำไพล โรงเรียนลำไพลราษฎร์อุทิศ โรงเรียนบ้านลำเปา โรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ โรงเรียนบ้านท่าไทร โรงเรียนวัดปริก และโรงเรียนบ้านควนเจดีย์
  8. เกิดเครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อง่ายต่อการติดต่อประสานงาน การติดตามข่าวสารประชาสัมพันธ์

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้โรงเรียนในเครือข่ายจัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ครอบคลุมทุกชั้นเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100 ของโรงเรียนในเครือข่ายจัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ครอบคลุมทุกชั้นเรียน
100.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้โรงเรียนในเครือข่ายปลอดน้ำอัดลม ขนมกรุบกรอบ ลูกอม ไอศกรีม และเครื่องดื่มรสหวาน (น้ำตาลไม่เกิน 5%) และมีการจัดอาหารกลางวันที่ถูกหลักโภชนาการและจัดอาหารว่างที่เหมาะสมให้นักเรียน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100 ของโรงเรียนในเครือข่ายปลอดน้ำอัดลม ขนมกรุบกรอบ ลูกอม ไอศกรีม และเครื่องดื่มรสหวาน (น้ำตาลไม่เกิน 5%) และมีการจัดอาหารกลางวันที่ถูกหลักโภชนาการและจัดอาหารว่างที่เหมาะสมให้นักเรียน
100.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อให้โรงเรียนในเครือข่ายมีการบูรณาการหลักสูตรการเรียนรู้ด้านทันตสุขภาพครอบคลุมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้และทุกชั้นเรียน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100 ของโรงเรียนในเครือข่ายมีการบูรณาการหลักสูตรการเรียนรู้ด้านทันตสุขภาพครอบคลุมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้และทุกชั้นเรียน
100.00

 

4 ข้อที่ 4 เพื่อให้ครูอนามัย และแกนนำนักเรียนมีความรู้เรื่องการเก็บข้อมูลทันตสุขภาพของนักเรียนโรงเรียนในเครือข่าย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของครูอนามัย และแกนนำนักเรียนมีความรู้เรื่องการเก็บข้อมูลทันตสุขภาพระดับมีคะแนนของแบบทดสอบหลังให้ความรู้เพิ่มขึ้น
80.00

 

5 ข้อที่ 5 เพื่อให้ครูอนามัย และเจ้าหน้าที่ธุรการโรงเรียนในเครือข่ายมีความรู้เรื่องจัดเก็บข้อมูลด้านทันสุขภาพในโรงเรียนโดยใช้ Google from
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของและเจ้าหน้าที่ธุรการโรงเรียนในเครือข่ายมีความรู้เรื่องจัดเก็บข้อมูลด้านทันสุขภาพในโรงเรียนโดยใช้ Google from มีระดับคะแนนของแบบทดสอบหลังให้ความรู้เพิ่มขึ้น
80.00

 

6 ข้อที่ 6 เพื่อให้โรงเรียนในเครือข่ายมีการจัดทำโครงงาน/นวัตกรรม/งานวิจัยด้านทันตสุขภาพ อย่างน้อยโรงเรียนละ 1 เรื่อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของโรงเรียนในเครือข่ายมีการจัดทำโครงงาน/นวัตกรรม/งานวิจัยด้านทันตสุขภาพ อย่างน้อยโรงเรียนละ 1 เรื่อง
100.00

 

7 ข้อที่ 7 เพื่อให้โรงเรียนในเครือข่ายจัดรณรงค์และประกวดวิชาการด้านทันตสุขภาพ และเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างโรงเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของโรงเรียนในเครือข่ายเข้าร่วมการประกวดวิชาการด้านทันตสุขภาพ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างโรงเรียน
100.00

 

8 ข้อที่ 8 เพื่อให้โรงเรียนในเครือข่ายเกิดมุมทันตสุขศึกษาเพื่อให้นักเรียนตลอดจนบุคคลทั่วไปได้มีความรู้เรื่องสุขภาพช่องปาก ภายในโรงเรียนในเครือข่าย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของโรงเรียนในเครือข่ายเกิดมุมทันตสุขศึกษาเพื่อให้นักเรียนตลอดจนบุคคลทั่วไปได้มีความรู้เรื่องสุขภาพช่องปาก ภายในโรงเรียนในเครือข่าย
100.00

 

9 ข้อที่ 9 เพื่อสร้างเครือข่ายสังคมออนไลน์ในการติดตามข้อมูลข่าวสาร การประชาสัมพันธ์ และความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก
ตัวชี้วัด : เกิดเครือข่ายสังคมออนไลน์ผ่าน Facebook Line ในการติดตามข้อมูลข่าวสาร
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 131
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 131
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้โรงเรียนในเครือข่ายจัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ครอบคลุมทุกชั้นเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้โรงเรียนในเครือข่ายปลอดน้ำอัดลม ขนมกรุบกรอบ    ลูกอม ไอศกรีม และเครื่องดื่มรสหวาน (น้ำตาลไม่เกิน 5%) และมีการจัดอาหารกลางวันที่ถูกหลักโภชนาการและจัดอาหารว่างที่เหมาะสมให้นักเรียน (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้โรงเรียนในเครือข่ายมีการบูรณาการหลักสูตรการเรียนรู้ด้านทันตสุขภาพครอบคลุมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้และทุกชั้นเรียน (4) ข้อที่ 4 เพื่อให้ครูอนามัย และแกนนำนักเรียนมีความรู้เรื่องการเก็บข้อมูลทันตสุขภาพของนักเรียนโรงเรียนในเครือข่าย (5) ข้อที่ 5 เพื่อให้ครูอนามัย และเจ้าหน้าที่ธุรการโรงเรียนในเครือข่ายมีความรู้เรื่องจัดเก็บข้อมูลด้านทันสุขภาพในโรงเรียนโดยใช้ Google from (6) ข้อที่ 6 เพื่อให้โรงเรียนในเครือข่ายมีการจัดทำโครงงาน/นวัตกรรม/งานวิจัยด้านทันตสุขภาพ อย่างน้อยโรงเรียนละ 1 เรื่อง (7) ข้อที่ 7 เพื่อให้โรงเรียนในเครือข่ายจัดรณรงค์และประกวดวิชาการด้านทันตสุขภาพ และเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างโรงเรียน (8) ข้อที่ 8 เพื่อให้โรงเรียนในเครือข่ายเกิดมุมทันตสุขศึกษาเพื่อให้นักเรียนตลอดจนบุคคลทั่วไปได้มีความรู้เรื่องสุขภาพช่องปาก ภายในโรงเรียนในเครือข่าย (9) ข้อที่ 9 เพื่อสร้างเครือข่ายสังคมออนไลน์ในการติดตามข้อมูลข่าวสาร การประชาสัมพันธ์ และความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพช่องช่องปากเด็กตามช่วงอายุ (2) จัดรณรงค์และประกวดวิชาการด้านทันตสุขภาพ (3) จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการเก็บข้อมูลทันตสุขภาพ (4) การจัดซื้อจัดจ้าง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดีตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5192-2-2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมเกียรติ ฤทธิศักดิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด