กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาสีทอง


“ สุขาภิบาลอาหาร ”

เทศบาลตำบลนาสีทอง ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวกัลยาสุขกาญจนะ

ชื่อโครงการ สุขาภิบาลอาหาร

ที่อยู่ เทศบาลตำบลนาสีทอง ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L8021-02-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2559 ถึง 31 สิงหาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"สุขาภิบาลอาหาร จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาลตำบลนาสีทอง ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาสีทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
สุขาภิบาลอาหาร



บทคัดย่อ

โครงการ " สุขาภิบาลอาหาร " ดำเนินการในพื้นที่ เทศบาลตำบลนาสีทอง ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L8021-02-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2559 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,000.00 บาท จาก กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาสีทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหารมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพ การมีสุขภาพที่ดีย่อมทำให้ประชาชนดำรงชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข และส่งผลกระทบต่อการทำงาน ไม่ว่าจะเป็นการทำงานในการหาเลี้ยงชีพ ตลอดจนการทำงานในการที่จะพัฒนาประเทศให้มีความก้าวหน้า การส่งเสริมให้ทุกคนมีสุขภาพที่ดีเป็นหน้าที่ของผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานของรัฐ หน่วยงานภาคเอกชน และตลอดจนประชาชน จะต้องให้ความร่วมมือซึ่งกันและกัน ในปัจจุบันการปนเปื้อนของอาหารจากสารเคมี จากเชื้อรา จากปัจจัยต่าง ๆ ทำให้ประชาชนผู้บริโภคเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจากอาหารและน้ำเป็นสื่อ ซึ่งต้องเสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการรักษาและเป็นปัญหาอีกประการหนึ่งที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องรับผิดชอบ ดังนั้น ผู้ประกอบการด้านอาหารเป็นกลุ่มที่จะต้องได้รับความรู้ในเรื่องสุขาภิบาลอาหาร และตระหนักถึงความปลอดภัยของผู้บริโภค จึงจำเป็นที่จะต้องมีความรู้ทุกขั้นตอนของห่วงโซ่อาหาร ตั้งแต่วัตถุดิบ การผลิต การแปรรูป การปรุงประกอบจำหน่ายจนถึงผู้บริโภค/* ชมรมผู้ประกอบการด้านอาหารเทศบาลตำบลนาสีทอง ร่วมกับกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดทำโครงการสุขาภิบาลอาหารขึ้น เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้ที่เกี่ยวข้องในการปรุงอาหาร ได้มีความรู้และตระหนักถึงความปลอดภัยจากการบริโภคอาหารของผู้บริโภค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารมีความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารและอันตรายจากอาหาร
  2. เพื่อให้ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร มีการพัฒนาปรับปรุงตามเกณฑ์มาตรฐาน Clean Food Good Taste และข้อกำหนดท้องถิ่น
  3. เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับความปลอดภัยจากการบริโภคอาหาร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 73
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารมีความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารและอันตรายจากอาหาร
    2. ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร มีการพัฒนาปรับปรุงตามเกณฑ์มาตรฐาน Clean Food Good Taste และข้อกำหนดท้องถิ่น
    3. ผู้บริโภคได้รับความปลอดภัยจากการบริโภคอาหาร

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. สำรวจกลุ่มเป้าหมายร้านอาหารและแผงลอย

    วันที่ 1 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สำรวจกลุ่มเป้าหมายร้านอาหารและแผงลอย ระหว่างวันที่ 1 - 9 ธันวาคม 2559 จำนวนทั้งสิ้น 73 ร้าน ประกอบด้วย

    1. ร้านอาหาร จำนวน 15 ร้าน
    2. แผงลอยจำหน่ายอาหาร จำนวน 49 ร้าน
    3. รถเร่ จำนวน 4 ร้าน
    4. ร้านคาราโอเกะ จำนวน 5 ร้าน

     

    73 1

    2. ประชุมปรึกษาหารือกิจกรรมโครงการกับหน่ายงานที่เกี่ยวข้อง

    วันที่ 15 ธันวาคม 2559 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมปรึกษาหารือกิจกรรมโครงการกับหน่ายงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อกำหนดวัน เวลา ในการอบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการด้านอาหาร โดยเเบ่งเป็น 3 ชุด ดังนี้

    1. แผงลอยจำหน่ายอาหารในที่หรือทางสาธารณะ และรถเร่จำหน่ายอาหาร อบรมให้ความรู้วันที่ 23 มีนาคม 2560 เวลา 09.30 - 12.00 น. ณ ห้องประชุมสภาเทศบาลตำบลนาสีทอง
    2. แผงลอยจำหน่ายอาหาร + ร้านคาราโอเกะ อบรมให้ความรู้วันที่ 31 มีนาคม 2560 เวลา 14.00 น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสภาเทศบาลตำบลนาสีทอง
    3. ร้านอาหาร อบรมให้ความรู้วันที่ 21 เมษายน 2560 เวลา 13.30 น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสภาเทศบาลตำบลนาสีทอง

     

    15 15

    3. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติดำเนินการ

    วันที่ 19 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เขียนโครงการเพื่อขอรับงบประมาณสนับสนุน จำนวน 24,000.- บาท จากกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาสีทอง 

     

    0 15

    4. จัดอบรมผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร

    วันที่ 23 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการด้านอาหาร ผู้เกี่ยวข้องในการปรุง ประกอบอาหาร ได้มีความรู้ และตระหนักถึงความปลอดภัยจากการบริโภคอาหารของผู้บริโภค ในหัวข้อ "ความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหาร, โรคติดต่อที่เกิดจากอาหาร และเทศบัญญัติเทศฐาลตำบลนาสีทอง เรื่อง การจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ ปี พ.ศ. 2550 และ เรื่องสถานที่จำหน่ายอาหารและสถานที่สะสมอาหาร ปี พ.ศ. 2550 ดังนี้ 1. วันที่ 23 มีนาคม 2560 จัดอบรมให้แก่ผู้ประกอบการร้านค้าบริเวณหน้าโรงเรียนชุมชนบ้านนาสีทอง เป้าหมายจำนวน 21 ราย มีผู้เข้าร่วมอบรม 10 ราย 2. วันที่ 31 มีนาคม 2560 จัดอบรมให้แก่ผู้ประกอบการแผงลอยจำหน่ายอาหาร และร้านอาหาร เป้าหมายจำนวน 20 ราย มีผู้เข้าร่วมอบรม 6 ราย 3. วันที่ 21 เมษายน 2560 จัดอบรมให้แก่ผู้ประกอบการขายอาหารในตลาดเช้า (ตลาดนาสีทอง) และผู้ประกอบการตกค้างจากข้อ 1 และ 2 เป้าหมายจำนวน 34 ราย มีผู้เข้าร่วมอบรม 12 ราย

     

    73 10

    5. ตรวจประเมินร้านร้านอาหารพร้อมมอบป้าย CFGT

    วันที่ 17 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ตรวจสถานประกอบการด้านอาหาร ทั้งทางแบคทีเรีย และทางกายภาพ ในวันที่ 17 - 18 พฤษภาคม 2560 จำนวน 15 ร้าน
    2. มอบป้ายอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste) ร้านที่ผ่านเกณฑ์ จำนวน 12 ร้าน ในวันที่ 27 กรกฎาคม 2560

     

    15 15

    6. จุดผ่อนผันจำหน่ายอาหาร

    วันที่ 9 พฤศจิกายน 2560 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มอบป้ายผู้ประกอบการขายอาหารในจุดผ่อนผันจำนวน 18 ร้าน

     

    18 18

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
    2. กิจกรรมตรวจแนะนำสถานประกอบการด้านอาหาร
    3. กิจกรรมประชุมและกำหนดจุดผ่อนผันการจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ
    4. กิจกรรมมอบป้าย Clean Food Good Taste อาหารสะอาด รสชาติอร่อย
    5. กิจกรรมมอบป้าย "ร้านนี้ได้รับอนุญาตให้จำหน่ายในจุดผ่อนผัน" หน้าโรงเรียนชุมชนบ้านนาสีทอง **ปัญหา/อุปสรรค : มีปัญหาในเรื่องของความร่มมือของผูประกอบการ ทำให้มีผู้มาร่วมกิจกรรมน้อย

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารมีความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารและอันตรายจากอาหาร
    ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารในเขตเทศบาลตำบาลนาสีทองมีความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารและอันตรายจากอาหาร

     

    2 เพื่อให้ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร มีการพัฒนาปรับปรุงตามเกณฑ์มาตรฐาน Clean Food Good Taste และข้อกำหนดท้องถิ่น
    ตัวชี้วัด : ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารในเขตเทศบาลตำบลนาสีทอง มีการพัฒนาปรับปรุงตามเกณฑ์มาตรฐาน Clean Food Good Taste และข้อกำหนดท้องถิ่น

     

    3 เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับความปลอดภัยจากการบริโภคอาหาร
    ตัวชี้วัด : ผู้บริโภคได้รับความปลอดภัยจากการบริโภคอาหาร เปรียบเทียบจากอัตราการเจ็บป่วยของประชาชนในพื้นที่

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 73
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 73
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารมีความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารและอันตรายจากอาหาร (2) เพื่อให้ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร มีการพัฒนาปรับปรุงตามเกณฑ์มาตรฐาน Clean Food Good Taste และข้อกำหนดท้องถิ่น (3) เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับความปลอดภัยจากการบริโภคอาหาร

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    สุขาภิบาลอาหาร จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L8021-02-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวกัลยาสุขกาญจนะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด