กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก


“ โครงการมัสยิดมูฮิบบีนสร้างสุข ”

ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการมัสยิดมูฮิบบีนสร้างสุข

ที่อยู่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7889-2-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมัสยิดมูฮิบบีนสร้างสุข จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมัสยิดมูฮิบบีนสร้างสุข



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมัสยิดมูฮิบบีนสร้างสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7889-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,800.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เทศบาลตำบลปริก ซึ่งอยู่ในเขตรับผิดชอบของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต ๑๒ สงขลา เป็นพื้นที่ที่มีความเป็นบริบทที่มีความเป็นอัตลักษณ์ในด้านสังคมและวัฒนธรรมศาสนาอิสลาม ซึ่งประชาชนร้อยละ ๙๐ นับถือศาสนาอิสลาม ดังนั้น กิจวัตรประจำวันของประชาชนจึงมีความผูกพัน กับศาสนสถาน คือ มัสยิด ซึ่งในการดำเนินชีวิตประจำวันประชาชนต้องปฏิบัติศาสนกิจละหมาดวันละ ๕ เวลา และในทุกวันศุกร์ ถือเป็นวันสำคัญที่ประชาชนมาปฏิบัติศาสนกิจจำนวนมาก รวมถึงในวันสำคัญทางศาสนาอิสลาม คือ ช่วงเดือนถือศีลอด(รอมฎอน) และวันตรุษ (อีดิลฟิตรี , อีดิ้ลอัฎฮา) ประชาชนทุกครัวเรือนได้มารวมตัวกัน เพื่อปฏิบัติศาสนกิจ ณ มัสยิดประจำชุมชน และยังเป็นสถานที่ในการเรียนการสอนศาสนาสำหรับสมาชิกของชุมชน มัสยิดมูฮิบบีน เป็นอีกหนึ่งมัสยิดในตำบลปริก ซึ่งตั้งอยู่ในชุมชนสวนหม่อม เป็นมัสยิดที่อยู่ติดกับถนนกาญจนวนิช ซึ่งเป็นถนนสายหลักผ่านติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน (มาเลเซีย) เป็นมัสยิดที่มีผู้คนแวะเวียนมาปฏิบัติธรรมตามความเชื่อหรือพิธีกรรมทางศาสนาอิสลาม รวมทั้งกิจกรรมทางสังคมอย่างสม่ำเสมอ รวมทั้งมัสยิดยังเป็นพื้นที่ที่คนในชุมชนใช้ในการจัดกิจกรรมและการเรียนการสอนศาสนา ขณะเดียวกันคณะกรรมการมัสยิด ประชาชนในชุมชนเอง ก็มีแนวคิดที่อยากจะพัฒนาให้มัสยิดเป็นศูนย์กลางในการขับเคลื่อนการเรียนรู้ของชุมชนและทำกิจกรรมต่าง ๆร่วมกัน อีกทั้งยังมีแนวคิดในการจัดการชุมชนเป็นแนวทางในการสร้างสังคมที่คำนึงถึงสุขภาวะเป็นหลัก เนื่องจากเห็นปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนไม่ว่าจะเป็นการจัดการขยะที่ยังไม่ถูกต้องจึงเป็นสาเหตุของการเกิดโรคติดต่อ ปัญหาห้องส้วมไม่ถูกสุขลักษณะ การสูบบุหรี่ในสถานที่สาธารณ จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพของคนในชุมชนเอง เช่น ไข้เลือดออก ไข้ฉี่หนู ท้องร่วง ตาแดง หรือโรคที่เกิดจากพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องของคนในชุมชน ซึ่งแนวคิดนี้มีจุดประสงค์เพื่อเป็นการกระตุ้นและสร้างความตระหนักให้คนในชุมชนและคนทั่วไปได้เห็นความสำคัญ มีความรู้ หันมาใส่ใจต่อการดูแลสุขภาวะทุก ๆมิติ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์และสังคม รวมทั้งสภาพแวดล้อมโดยรวมของชุมชน เพื่อให้เป็นชุมชนที่น่าอยู่และปราศจากโรคภัยต่าง ๆที่จะเป็นอันตรายต่อคนในชุมชน จากสถานการณ์การระบาดของติดต่อ โรคไข้เลือดออก ชิคุนกุนยา และอื่นๆในเขตเทศบาลตำบลปริก ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ พบผู้ป่วยจำนวน ๑๕ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๒๓๑.๗๓ ต่อแสนประชากร และพบผู้ป่วยโรคไข้ปวดข้อยุงลาย (ชิคุนกุนยา) จำนวน ๔ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๖๑.๗๙ ต่อแสนประชากร ซึ่งเป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขที่ต้องแก้ไขแบบมีส่วนร่วมหลายๆภาคส่วน และอีกทั้งเกินค่ามาตรฐานตัวชี้วัดค่ามัธยฐานย้อนหลังห้าปีของกระทรวงสาธารณสุข ดังนั้น ในการทำมัสยิดให้เป็นศูนย์กลางในการขับเคลื่อนการเรียนรู้ของชุมชนและมีการจัดการสุขภาวะชุมชนที่ดี เพื่อสร้างสังคมให้คำนึงถึงสุขภาวะนั้น คณะกรรมการชุมชน คณะกรรมการมัสยิด จึงจำเป็นต้องมีความรู้เพื่อที่จำไปสู่การจัดการสุขภาวะชุมชนได้อย่างถูกต้อง จึงได้จัดทำ “โครงการมัสยิดมูฮิบบีนสร้างสุข” ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจัดกระบวนการการส่งเสริมสุขภาพ ให้ความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค และการตระหนักในการใส่ใจต่อการดูแลสุขภาวะของกลุ่มเป้าหมาย ๒.๒ เพื่อจัดสิ่งแวดล้อมในศาสนถานให้ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล มีภูมิทัศน์ที่ดี มีความสะอาด น่าอยู่ และปราศจากโรคติดต่อต่าง ๆ ๒.๓ เพื่อสร้างความร่วมมือของคนในชุมชน ผลักดันให้มัสยิดมูฮิบบีน เป็นมัสยิดส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    10.๑ เกิดกระบวนการการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และการตระหนักในการใส่ใจต่อการดูแลสุขภาวะของกลุ่มเป้าหมาย 10.๒ สิ่งแวดล้อมในศาสนถานมีความถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล มีภูมิทัศน์ที่ดี มีความสะอาด
    น่าอยู่ และปราศจากโรคติดต่อต่าง ๆ 10.๓ เกิดการสร้างความร่วมมือของคนในชุมชน ผลักดันให้มัสยิดมูฮิบบีน เป็นมัสยิดส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อจัดกระบวนการการส่งเสริมสุขภาพ ให้ความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค และการตระหนักในการใส่ใจต่อการดูแลสุขภาวะของกลุ่มเป้าหมาย ๒.๒ เพื่อจัดสิ่งแวดล้อมในศาสนถานให้ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล มีภูมิทัศน์ที่ดี มีความสะอาด น่าอยู่ และปราศจากโรคติดต่อต่าง ๆ ๒.๓ เพื่อสร้างความร่วมมือของคนในชุมชน ผลักดันให้มัสยิดมูฮิบบีน เป็นมัสยิดส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข
    ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้นหลังอบรม 2. ผ่านเกณฑ์มัสยิดส่งเสริมสุขภาพ 1 แห่ง 3. ไม่เป็นแหล่งเกิดโรคในมัสยิด และมัสยิดปลอดควันบุหรี่
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดกระบวนการการส่งเสริมสุขภาพ ให้ความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค และการตระหนักในการใส่ใจต่อการดูแลสุขภาวะของกลุ่มเป้าหมาย ๒.๒ เพื่อจัดสิ่งแวดล้อมในศาสนถานให้ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล มีภูมิทัศน์ที่ดี มีความสะอาด น่าอยู่ และปราศจากโรคติดต่อต่าง ๆ ๒.๓ เพื่อสร้างความร่วมมือของคนในชุมชน ผลักดันให้มัสยิดมูฮิบบีน เป็นมัสยิดส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการมัสยิดมูฮิบบีนสร้างสุข จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 62-L7889-2-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด