กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลระโนด


“ โครงการโรงอาหารอ่อนหวาน อาหารปลอดภัย ”

ตำบลระโนด อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางทัณฑิกา สุขจันทร์

ชื่อโครงการ โครงการโรงอาหารอ่อนหวาน อาหารปลอดภัย

ที่อยู่ ตำบลระโนด อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5226-2-23 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มิถุนายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโรงอาหารอ่อนหวาน อาหารปลอดภัย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลระโนด อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลระโนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโรงอาหารอ่อนหวาน อาหารปลอดภัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโรงอาหารอ่อนหวาน อาหารปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลระโนด อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5226-2-23 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มิถุนายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลระโนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ทราบกันโดยทั่วไปว่าการบริโภคน้ำตาลเกินความเหมาะสมและการทานหวานเป็นประจำ จะส่งผลให้เกิดโรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคฟันผุ ซึ่งโรคต่าง ๆ เหล่านี้เมื่อเป็นแล้วรักษาได้ยาก เกิดภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาเป็นจำนวนมาก กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้ร่วมกันรณรงค์ลดพฤติกรรมการบริโภคน้ำตาลในเด็กไทยอย่างต่อเนื่อง ภายใต้การดำเนินงานของ “เครือข่ายเด็กไทยไม่กินหวาน” มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 โรงพยาบาลระโนดได้ดำเนินการรณรงค์ลดบริโภคหวานมาตั้งแต่ปี 2550 ภายใต้การดำเนินงานของ “เครือข่ายเด็กใต้ไม่กินหวาน” ผลการสำรวจสุขภาพช่องปากของนักเรียน ปีการศึกษา 2560-2561 พบว่ามีสภาวะฟันแท้ผุเพิ่มขึ้น จากร้อยละ 10.93 เป็น 11.52 การสำรวจสภาวะเด็กอ้วน ปีการศึกษา 2561 พบว่ามีเด็กอ้วนจำนวน 56 คน จากการสำรวจเด็กทั้งหมด 647 คน คิดเป็นร้อยละ 8.66 จากการสำรวจโรงอาหารและห้องสหกรณ์โรงเรียนบ้านระโนต (ธัญเจริญ) พบว่ามีการจำหน่ายอาหาร เครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูง ได้แก่ นมเปรี้ยว นมรสหวาน โยเกิร์ต ไอศกรีม ขนมโดนัส ซึ่งถือว่าเป็นการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการให้เด็กเข้าถึงการบริโภคอาหารที่มีน้ำตาลสูงได้ง่าย หากนักเรียนมีการบริโภคอย่างต่อเนื่องก็จะส่งผลเสียต่อสุขภาพได้ จึงได้มีการประสานงานกับทางโรงเรียนเพื่อหาแนวทางในการจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้เอื้อต่อการลดการบริโภคน้ำตาล และจัดให้มีการให้ความรู้นักเรียน จัดกิจกรรมรณรงค์ลดพฤติกรรมการบริโภคหวานโดยการมีส่วนร่วมของนักเรียนและผู้ปกครอง การประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียนใช้ผักที่มีจำหน่ายทั่วไปในท้องตลาด ซึ่งพบว่าผักส่วนใหญ่ฉีดยาฆ่าแมลง จึงได้มีการประสานงานกับเกษตรกรที่ปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อส่งผักปลอดสารพิษจำหน่ายให้กับทางโรงเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่องด/ลดการจำหน่ายขนม เครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูงในโรงอาหารและห้องสหกรณ์โรงเรียน
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้นักเรียนได้บริโภคผักปลอดสารพิษในมื้ออาหารกลางวันที่โรงเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ผลิตสื่อให้ความรู้และประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก รณรงค์ลดการบริโภคหวาน อาหารปลอดภัย และลดอ้วน ลดโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 653
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่องด/ลดการจำหน่ายขนม เครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูงในโรงอาหารและห้องสหกรณ์โรงเรียน
ตัวชี้วัด : 1. จำนวนรายการขนม เครื่องดื่ม ที่มีน้ำตาลสูง ที่งด/ลดการจำหน่ายในโรงอาหารและห้องสหกรร์โรงเรียน
0.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้นักเรียนได้บริโภคผักปลอดสารพิษในมื้ออาหารกลางวันที่โรงเรียน
ตัวชี้วัด : 1. ผลการสุ่มตรวจผักที่ใช้ประกอบอาหารกลางวันของโรงเรียนไม่พบสารพิษ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 653
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 653
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่องด/ลดการจำหน่ายขนม เครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูงในโรงอาหารและห้องสหกรณ์โรงเรียน (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้นักเรียนได้บริโภคผักปลอดสารพิษในมื้ออาหารกลางวันที่โรงเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ผลิตสื่อให้ความรู้และประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก รณรงค์ลดการบริโภคหวาน อาหารปลอดภัย และลดอ้วน ลดโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการโรงอาหารอ่อนหวาน อาหารปลอดภัย

รหัสโครงการ 62-L5226-2-23 ระยะเวลาโครงการ 4 มิถุนายน 2562 - 30 กันยายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

1.ลดการจำหน่ายขนม-เครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูงในโรงอาหารและห้องสหกรณ์โรงเรียน 2.นักเรียนได้บริโภคผักปลอดสารพิษในมื้ออาหารกลางวันที่โรงเรียน

  1. จำนวนรายการขนม-เครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูง ที่งด/ลดการจำหน่ายในโรงอาหารและห้องสหกรณ์ โรงเรียน
    1. ผลการสุ่มตรวจผักที่ใช้ประกอบอาหารกลางวันของโรงเรียนไม่พบสารพิษ

นำขนมและเครื่องดืมที่มีคุณค่าทางอาหารสูงและมีน้ำตาลน้อยมาจำหน่ายในโรงอาหารและสหกรณ์โรงเรียน เช่น ขนมปังธัญญาพีช น้ำผลไม้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

นักเรียนมีความรู้มากขี้นทั้งด้าน ผักปลอดสารพิษ และ อาหารที่มีคุณค่าทางอาหารต่ำ

นักเรียนหันมาใส่ใจมากขึน

นำผลผลิตไปขายต่อ เพื่อฝึกความมีวินัยแก่นักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

เกิดเครือข่ายในกลุ่มนักเรียนในการปลูกผักปลอดสารพิษ

1.จาการสำรวจรายการขนม-เครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูงในโรงอาหาร และห้องสหกรณ์โรงเรียน 2. การสุ่มตรวจหาสารพิษในผักที่เกษตรกรปลูก ปีละ 2 ครั้ง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
  1. สำรวจรายการขนม-เครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูงในโรงอาหาร และห้องสหกรณ์โรงเรียน
    1. ทำหนังสือขอความร่วมมือทางโรงเรียนในการงดจำหน่ายขนม-เครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูงในโรงอาหาร และห้องสหกรณ์โรงเรียน
    2. ประสานงานผู้อำนวยโรงเรียนเพื่อเข้าร่วมโครงการ
    3. เชิญผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวันเข้าประชุมเพื่อรับทราบนโยบาย
    4. ประสานงานเกษตรกร เพื่อปลูกผักปลอดสารพิษ จำหน่ายให้กับโรงเรียน
    5. สุ่มตรวจหาสารพิษในผักที่เกษตรกรปลูก ปีละ 2 ครั้ง
    6. ให้ความรู้นักเรียน เรื่องฟันผุ อาหารกับฟันผุ โภชนาการอาหารปลอดภัย ฝึกอ่านฉลากโภชนาการ
          8. ผลิตสื่อให้ความรู้และประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก อาหารปลอดภัย และลดอ้วน ลดโรค     9. คัดเลือกนักเรียน “ยุวทูตอ่อนหวาน” จำนวน 20 คน มาอบรมให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหาร รวมไปถึงการอ่านฉลากบนบรรจุภัณฑ์ โดยทุกคนจะต้องทำหน้าที่ในการเผยแพร่ความรู้นี้ไปยังพี่ๆ น้องๆ ในโรงเรียน
    7. สำรวจเด็กอ้วน จัดกิจกรรมให้ความรู้เด็กและผู้ปกครอง
    8. จัดกิจกรรมออกกำลังกายในโรงเรียน

ผลสรุปโครงการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

เกิดกลุ่ม ยุวทูตอ่อนหวาน

สรุปผลการดำเนินงาน

ติดตามประเมินผลในแต่ละปีการศึกษา

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

จัดตั้งวิชาเลือกเสรี ในด้าน การปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อนำไปบริโภคในอาหารกลางวัน จัดตั้งยุวทูตอ่อนหวาน มาอบรมณ์ความรู้เรื่องการบริโภคอาหาร รวมไปถึงการอ่านฉลากบนบรรจุภัณฑ์ เพื่อนำมาเผยแพร่ความรู้ให้พี่ๆน้องๆในโรงเรียน

สรุปผลการดำเนินงาน

ติดตามประเมินผลในแต่ละปีการศึกษา

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

1.นักเรียนมีการเลือกรับประทานอาหารที่มีคุณค่ามากขึ้น 2. ลดโรค เช่น โรคอ้วน ฟันผุ และเสริมสร้างวิตามินในร่างกาย เช่น วิตามินเอ บี ซี เป็นต้น

สรุปผลการดำเนินงาน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

มีการปรับปรุงการการจำหน่ายอาหารในโรงเรียน โดยในห้องสหกรณ์ ไม่มีการจำหน่าย นมเปรี้ยว นมรสหวาน โยเกิร์ต ไอศครีม
ส่วนอาหารกลางไม่มีการจำหน่ายโดนัท น้ำหวาน

ตู้สหกรณ์โรงเรียน

ส่งเสริมการนำอาหารที่มีคุณค่าทางอาหารมาขาย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

กิจกรรมออกกำลังกายในโรงเรียน ทุกวันพุธ เวลา 14:30-15:30 น.

สรุปผลการดำเนินงาน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
  1. นักเรียนมีการรวมกลุ่มเพื่อพูดคุยวิธีการทำแปลงผัก และมีการจัดการอารมณ์ เช่น ฝึกความอดทน วินัย และใส่ใจ

แปลงผักมีการนำไปขาย และสามารถเพิ่มเมนูอาหารเที่ยงได้

สามารถนำความรู้กลับไปใช้ในครอบครัวได้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

นำไปใช้การดำรงลงชีวิตในการเลือกรับประทานอาหารและประกอบอาหาร

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

นำความรู้ที่ได้รับไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบุคคลภายในครอบครัว เพื่อส่งเสริมสุขภาพ

เอกสารให้ความรู้

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

การตรวจสารพิษในผักที่เพาะปลูกในโรงเรียน และ โรคอันตรายต่อนักเรียน

เอกสารให้ความรู้

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

นักเรียนได้รับการบริโภคผักปลอดสารพิษ และส่งเสริมสุขภาพที่ปลอดภัย ลด ปัญหา โรคอ้วน และฟันพุ

เอกสารให้ควา่มรู้

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

เกิดกลุ่ม "ยุวทูตอ่อนหวาน" และมีมติของกลุ่ม

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

กำหนดหลักเกณฑ์ "ยุวทูตอ่อนหวาน" และ มาตรการผู้ประกอบการอาหาร ไม่เน้นหวาน และ เกษตรกรที่ปลูกผักปลอดสารพิษส่งให้กับทางโรงเรียน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

การกำหนด ธรรมนูญสุขภาพของชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

เกิดการเผยแพร่องคฺความรู้สู่กลุ่ม/เครื่อข่าย /ชุมชน

เอกสารให้ความรู้

ส่งเสริมให้การเกิดกลุ่มใหม่ในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

ป้องกันการเกิดโรคฟันฟุ /โรคอ้วน/โรคเรื่อรังภายหลัง และการโภชนาการอาหารปลอดภัย และกิจกรรมออกกำลังกาย

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

สามารถใช้ทรัพยากรกลุ่มเกษตรกรในชุมชน เพื่อส่งผักปลอดสารพิษจำหน่ายให้กับโรงเรียน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

เกิดกลุ่มเกษตรกรในชุมชนที่ส่งผักปลอดสารพิษจำหน่ายให้กับโรงเรียน ให้มีการคำนึกถึงคุณภาพ เกิดกลุ่มผู้ปกครองที่นำความรู้จากกิจกรรมมาให้ภายในครอบครัว

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

1.กิจกรรมลดบริโภคหวานในโรงเรียน โดยการใช้ข้อมมูลจากการสำรวจอาหาร เครื่องดืมที่มีน้ำตาลสูงในโรงเรียน และสหกรณ์โรงเรียน จึงมีการปรับปรุงการจำหน่ายอาหารในโรงเรียน
2. กิจกรรมอาหารกลางวันและอาหารปลอดภัย โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch และมรการประสานกับเกษตรกร เพื่อปลูกผักปลอดสารพิษจำหน่ายให้กับโรงเรียน 3.กิจกรรมให้ความรู้แก่นักเรียนและผู้ปกครอง โดยวิทยากรจากโรงพยาบาลระโนด 4. กิจกรรมออกกำลังกายในโรงเรียน ทุกวันพุธ เวลา 14:30-15:30 น.

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรง และ งด ลด การบริโภคอาหารที่หวาน เสี่ยงต่อการเป็นโรคอ้วน ฟันพุ และโรคเรื่อรัง
"ยุวทูตอ่อนหวาน" จะเป็นกลุ่มนักเรียนที่ผ่านการอบรมเรื่องการบริโภคอาหาร ทำหน้าที่ เผยแพร่ความรู้ไปยังพี่ๆน้องๆในโรงเรียน เกิดความภูมิใจในตนเอง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

คุณครู นักเรียน และผู้ปรกอบการร้านอาหารในโรงเรียนมีการตระหนักต่อภัยจากอาหารที่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพของเด็กมากขึ้น

มีการงด ลด เลิก การจำหน่ายอาหารเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูง

อยากให้จัดการประเมินผล และหลักเกณฑ์ในการควบคุมการจำหน่ายต่อเด็กนักเรียนทุกปีการศึกษา

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

ส่งเสริมสุขภาพ เกิดการกินอย่างพอดี ใส่ใจสุขภาพมากขึ้น

มีการงด ลด เลิก การจำหน่ายอาหารเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

1.กิจกรรมลดบริโภคหวานในโรงเรียน โดยการใช้ข้อมมูลจากการสำรวจอาหาร เครื่องดืมที่มีน้ำตาลสูงในโรงเรียน และสหกรณ์โรงเรียน จึงมีการปรับปรุงการจำหน่ายอาหารในโรงเรียน
2. กิจกรรมอาหารกลางวันและอาหารปลอดภัย โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch และมรการประสานกับเกษตรกร เพื่อปลูกผักปลอดสารพิษจำหน่ายให้กับโรงเรียน 3.กิจกรรมให้ความรู้แก่นักเรียนและผู้ปกครอง โดยวิทยากรจากโรงพยาบาลระโนด 4. กิจกรรมออกกำลังกายในโรงเรียน ทุกวันพุธ เวลา 14:30-15:30 น.

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการโรงอาหารอ่อนหวาน อาหารปลอดภัย จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5226-2-23

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางทัณฑิกา สุขจันทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด