กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ ป้องกัน และควบคุมไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2562
รหัสโครงการ 62-L5313-1-07
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
วันที่อนุมัติ 29 พฤษภาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2562
งบประมาณ 50,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอาทินันท์ สมุทรสารัญ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.842,99.826place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 50,000.00
รวมงบประมาณ 50,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 70 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึงวันที่ ๑1 กันยายน ๒๕๖๑ (ข้อมูลจากระบบ รายงาน การเฝ้าระวังโรค 506 สํานักระบาดวิทยา) ประเทศไทย มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก (Dengue fever : DF, Dengue hemorrhagic fever: DHF. Dengue shock syndrome: DSS) สะสมรวม 54808 ราย อัตราป่วย 83.26 ประชากรแสนคน มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต 69 ราย สําหรับในพื้นที่เขต 12 พบผู้ป่วย 2560 ราย อัตราป่วย ๕๒. ๒๕ ต่อประชากรแสนคน ผู้ป่วยเสียชีวิต ๔ ราย เจ้าหวัดตรัง 2 ราย และ สงขลา 2 ราย) คิดเป็นอัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.16 จังหวัดที่พบอัตรป่วยสูงสุดคือ จังหวัดสงขลา ๗๔.68 ต่อประชากรแสนคน (1,056) ราย) รองลงมา คือ จังหวัดตรัง 66.๔๓ ต่อประชากรแสนคน (4๒๖ ราย) จังหวัด พัทลุง อัตราป่วย 57.91 ต่อประชากรแสนคน (303 ราย) จังหวัดยะลา 36.72ต่อประชากรแสนคน (191 ราย) จังหวัดนราธิวาส 35.86 ต่อประชากรแสนคน (๒๘๒ ราย) จังหวัดปัตตานี 31.54 ต่อประชากรแสนคน 220 ราย และจังหวัดสตูล 25.89 ต่อประชากรแสนคน (82 ราย) จากสถานการณ์ในพื้นที่อำเภอละงู ผู้ป่วยสะสม ณ วันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ จํานวน 493 ราย คิด เป็นอัตราป่วย 687.44 ต่อประชากรแสนคน (รายงานน E1 “ศุนย์ระบาดโรงพยาบาลละงู ๒๕๖1) อัตราป่วยต่อแสน ประกร ๕ ปีย้อนหลัง ๒๕๕7-2561 เท่ากับ 233.62 ,117.81, 4.31, 51.62 และ 11.31 ตามลำดับ (รายงานน ๕06 ศูนย์ระบาดโรงพยาบาลละงู ๒๕6๑) โรคไข้เลือดออกในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตําบลละงู ทั้ง ๕ หมู่บ้าน จํานวน ๕๕ ราย คิดเป็นอัตราป่วย 681.18 ต่อประชากรแสนคน พบว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเมื่อ เทียบกับจํานวนผู้ป่วย ๓ ปีย้อนหลัง และจากการวิเคราะห์การกระจายโรคตามพื้นที่พบว่ามีการกระจายโรคในชุมชนเป็น หลัก ที่มีหลังคาเรือนติดกัน 15 - ๒0 หลัง พื้นที่หมู่ 6 บ้านท่าชะมวงและหมู่ 6 บ้านปากละงู) รองลงมาเป็นโรงเรียน ผู้ป่วยส่วนใหญ่อยู่ในวัยเรียน และวัยทํางาน สาเหตุการแพร่กระจายโรค ส่วนใหญ่จากการเคลื่อนย้ายระหว่างหมู่บ้านที่มี ความสัมพันธ์เชิงเครือญาติ และอีกปัจจัยคือการสุ่มสํารวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย แสดงให้เห็นว่ามาตรการในการ ดําเนินการป้องกันควบคุมโรคยังขาดความร่วมมือของชุมชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งความร่วมมือในระดับครัวเรือน ในการกำจัดและทําลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้านอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจำเป็นต้องมีการสุ่มติดตาม ประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย รวมถึงการอาศัยความร่วมมือจากหลายภาคีเครือข่ายช่วยขับเคลื่อนการดําเนินงานป้องกันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ จากความสําคัญข้างต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลละงู จึงตระหนักและให้ ความสําคัญในการดําเนินงานควบคุมและเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก ซึ่งเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขในพื้นที่ อันส่งผลกระทบต่อสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม และการพัฒนาระดับประเทศ จึงได้จัดทําโครงการรณรงค์ ป้องกัน และควบคุมไข้เลือดออก ปีงบประมาณ ๒๕62 เพื่อจัดการการป้องกันควบคุมโรคในชุมชนให้มีประสิทธิภาพด้วยการเสริมพลังการทํางานของ เครือข่ายในชุมชนอย่างมีระบบและยั่งยืนต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อเตรียมความพร้อมโรคระบาดไข้เลิอดออกแก่เครือข่าย 2.เพื่อหามาตรการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกแก่เครือข่าย

รณรงค์ป้องกันในสถานศึกษา ทั้งสอง ภาคเรียน รณรงค์ป้องกันในหมู่บ้านทุกๆ 2 เดือน

0.00
2 2.เพื่อหามาตรการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกแก่เครือข่าย

มีมาตรการ/ข้อตกลงการป้องกันโรคไข้เลือดออกทุกหมู่บ้าน (5หมู่บ้าน)

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
1 ต.ค. 61 - 30 ก.ย. 62 พ่นหมอกควัน เพื่อรณรงค์ก่อน โรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เปิดภาคเรียน ที่ 2 ,รณรงค์ ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ ลูกน้ำ ยุงลายในหมู่บ้าน,จัดซื้อทรายเคมีฟอส เพื่อใช้รณรงค์ ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน 0 43,250.00 43,250.00
1 ต.ค. 61 - 30 ก.ย. 62 หามาตรการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกแก่เครือข่าย 0 6,750.00 6,750.00
รวม 0 50,000.00 2 50,000.00

1.ประชุมวางแผนการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคร่วมกับเครือข่ายในพื้นที่รับผิดชอบ 2.ให้ความรู้ การควบคุมป้องกันโรค วัดความรู้และคืนข้อมูลสุขภาพในพื้นที่ 3.ร่วมรณรงค์ในหมู่บ้าน 4.วางมาตรการควบคุมโรค

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.จำนวนผู้ป่วยปี 2562 ไม่เกินเกณฑ์อัตราป่วย 50 ต่อประชากรแสนคน 2.ค่า HI CI ในพื้นที่ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน 3.เครือข่ายความเข้าใจที่ถูกต้องสามารถกระจายข่าวในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกได้ 4.เครือข่ายสามารถควบคุมโรคได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 มิ.ย. 2562 10:15 น.