กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการหมู่บ้านต้นแบบใส่ใจสุขภาพพึ่งพาตนเอง
รหัสโครงการ 62-L5313-02-24
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสามัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านหมู่ที่ 2 บ้านปากละงู
วันที่อนุมัติ 29 พฤษภาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2562 - 30 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2562
งบประมาณ 53,500.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางอินตัน คฤหาสน์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.842,99.826place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 53,500.00
2 0.00
รวมงบประมาณ 53,500.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันอัตราการป่วยของโรคไม่ติดต่อ เพิ่มขึ้นทุกปีโดยเฉพาะโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง จากการประเมินความเข้าใจในเรื่องความรู้ การดูแลตนเอง พฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ ของแต่ละบุคคล เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการเจ็บป่วย จากสถิติข้อมูลสุขภาพของคนปากละงู พบปัญหาสุขภาพมีโรค ความดันโลหิตสูง /เบาหวาน หลอดเลือดสมอง อ้วนลงพุง เป็นสาเหตุการเจ็บป่วยต้นๆ ของชุมชนปากละงูทางชุมชนได้เล็งเห็นถึงความสำคัญและเพื่อให้การดำเนินงานเกิดเป็นรูปธรรมและเป็นประโยชน์ต่อประชาชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรมมสุขภาพของตนเองและเเป็นประโยชน์ต่อชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองด้วยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การดูแลสุขภาพของตนเอง ด้วยวิถีพอเพียงเป็นต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและส่งผลให้ชุมชน/กลุ่มเสี่ยงไม่ป่วยเป็นโรคในอนาคต

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารอย่างถูกวิธีลดหวานมันเค็ม

จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเป็นไปในทางที่ดีขึ้น โดยวัดจากความรู้และความสามารถในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการจัดการอารมณ์ของตนเอง

0.00
2 2.เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชนอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆละ 30 นาที

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการออกกำลังกายและออกกำลังกายอย่างน้อยวันละ 30 นาทีและสามารถคิดค่าดัชนีีมวลกายของตนเองได้

0.00
3 3.เพื่อส่งเสริมการบริโภคและการปลูกผักปลอดสารพิษ

ผู้เข้าร่วมโครงการรู้ถุงพดิษภัยของสารพิษตกค้างในผักและผลไม้

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
1 - 30 มิ.ย. 62 จัดทำป้ายโครงการ 0 800.00 800.00
1 มิ.ย. 62 - 30 ก.ย. 62 จัดประชุมคณะทำงานเตรียมความพร้อม 36 1,400.00 1,400.00
1 มิ.ย. 62 - 30 ก.ย. 62 กิจกรรมการปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารปลอดสารพิษ โดยใน 1 ครัวเรือนของผู้เข้าร่วมโครงต้องมีผักไว้บริโภคอย่างน้อย 5 ชนิด 80 12,600.00 12,600.00
1 มิ.ย. 62 - 30 ก.ย. 62 กิจกรรมออกกำลังกาย 100 5,000.00 5,000.00
14 มิ.ย. 62 - 30 ก.ย. 62 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค ลดเสี่ยง ลดโรคและการให้ความรู้การออกกำลังกายอย่างถูกวิธีและการสอนวิธีคิดค่า ดัชนีมวลกายของตนเอง 80 18,700.00 18,700.00
14 มิ.ย. 62 กิจกรรมจัดนิทรรศการถอดบทเรียน ก่อนสรูปโครงการ โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการ กลุ่มเป้าหมาย 80 คน และผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ 20 คน 100 15,000.00 15,000.00
รวม 396 53,500.00 6 53,500.00

1.จัดทำโครงการเพื่อแก้ไขปัญหา และนำเนอ เพื่อขออนุมัติโครงการ 2.จัดประชุมคณะทำงาน และวางแผนการดำเนินงาน 3.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค 4.กิจกรรมการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารปลอดภัย 5.กิจกรรมการออกกำลังกาย และตรวจวัดค่าดัชนีมวลกาย 6.กิจกรรมถอดบทเรียน ติดตาม ประเมินผล การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มโดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ชุมชนมีความรู้ความเข้าใจสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยตนเองด้านอาหาร-ออกกำลังกาย และการจัดการอารมณ์ ด้วยตนเอง 2.ชุมชน มีการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง สามารถนำไปใช้กับตนเอง ครอบครัว ชุมชน 3.ลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อรายใหม่ในชุมชน 4.เพื่อการสร้างกระแสการดูแลสุขภาพตนเอง ด้วยวิถีพอเพียง แบบยั่งยืน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 มิ.ย. 2562 11:47 น.