กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ


“ โครงการความคุมเเละป้องกันโรคความดันโลหิตสูงเเละโรคเบาหวานปี 2562 ”

ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางเมธี มนุกุล

ชื่อโครงการ โครงการความคุมเเละป้องกันโรคความดันโลหิตสูงเเละโรคเบาหวานปี 2562

ที่อยู่ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2490-01-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการความคุมเเละป้องกันโรคความดันโลหิตสูงเเละโรคเบาหวานปี 2562 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการความคุมเเละป้องกันโรคความดันโลหิตสูงเเละโรคเบาหวานปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานเเละความดันโลหิตสูง (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส. (3) เพื่อให้กลุ่มป่วยได้รับการดูเเลรักษาเเละได้รับการส่งต่อตามเเนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานในชุมชน จำนวน 1,186 คน คิดเป็นร้อยละ 91.31 (2) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงด้วยโรค Metabolic จำนวน 200 คน (3) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานเเละคัดกรอง CVD RISK จำนวน 200 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ ...ไม่มี...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเศรษฐกิจเเละสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนเเปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชน ประชาชนมีการเเข่งขันสร้างความมั่นคงให้เเก่ครอบครัว นิยมวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้น จึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเร่งรีบกับการทำงาน บริโภคอาหารโดยไม่ได้คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย เครียด ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข เป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วม เเละเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคนี้สามารถป้ิงกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น การรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ เเละมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม จากผลการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงเเละเบาหวานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะวุอ ปี 2561 ประชากร 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงความดัน จำนวน 1,243 คน คิดเป็นร้อยละ 97.45 พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง จำนวน 379 คน คิดเปฝ้นร้อยละ 30.44 แและกลู่มเสี่ยงสูงจำนวน 103 คน คิดเป็นร้อยละ 8.27 เเละประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 1299 คน คิดเป็นร้อยละ 98.45 พบกลุ่มเสี่ยงเบาหวานจำนวน 245 คน คิดเป็นร้อยละ18.88
นอกจากนี้กลุ่มป่วยความดันโลหิตสูง เบาหวาน ในเขตรับผิดชอบ ปี 2561 ได้รับการคัดกรอง CVD Risk จำนวนทั้งสิ้น 278 คน คิดเป็นร้อยละ 90.96 เเละจากการตรวจประเมินค่าความดันโลหิตเเละน้ำตาลในเลือดในผู้ป่วยเเต่ละราย พบว่า ผู้ป่วยบางรายยังไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลเเละความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้อย่างสม่ำเสมอ ซึ่งจะส่งผลกระทบนั่น คือการเกิดภาวะเเทรกซ้อนในอนาคตได้ ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะลุวอ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว เเละตระหนักถึงถภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าว จึงได้จำทำโครงการควบคุมเเละป้องกันฌรคความดันโลหิตสูงเเละโรคเบาหวานขึ้น เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ เเละสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดการเกิดโรคเรื้อรังเเละป้องกันภาะเเทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคตได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานเเละความดันโลหิตสูง
  2. 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส.
  3. 3.เพื่อให้กลุ่มป่วยได้รับการดูเเลรักษาเเละได้รับการส่งต่อตามเเนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมคัดกรองในชุมชนและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงด้วยโรค Matabolic
  2. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มป่วยความดันโลหิตสูง เบาหวาน หัวใจ เเละคัดกรอง CVD RISK

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนอายุ 5 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง-เบาหวาน 2.ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูเเลสุขภาพเบื้องต้น/ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างเหมาะสม 3.อสม.มีความรู้ในการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง-เบาหวาน อย่างถูกต้องเเละสามารถให้คำเเนะนำในการปฏิบัติตนเเละการรักษาได้อย่างเหมาะสม 4.ประชาชนกลุ่มเสี่ยง เเละกลุ่มป่วย ได้รับการเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส. เเละมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมอย่างต่อเนื่อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมคัดกรองในชุมชนและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงด้วยโรค Matabolic

วันที่ 1 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ เเละขอสนับสนุนงบประมาณ 2.ประชุมชี้เเจงผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องรับทราบนโยบายเเละวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อให้มีความเข้าใจในเเนวเดียวกัน 3.จัดทำเเผนการออกปฏิบัติงานเชิงรุกในการดำเนินงานคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมองเเละภาวะอ้วนลงพุงประชากร 35ปีขค้นไปในเขตรับผิดชอบ 4.ประสานงานกับหน่อยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อความร่วมมือเเละสนับสนุนกิจกรรมการตรวจคัดกรองความเสี่ยงในชุมชน เช่น ผู้นำท้องถิ่น อสม. และภาคีเครือข่าย 5.ประชาสัมพันธ์การคัดกรองความเสี่ยง เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้าร่วมโครงการฯ 6.ประชุมชี้เเจง อสม. เพื่อไปดำเนินการคัดกรอง โรคความดันโลหิตสูงเเละโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยง 7.จัดเตรียมวัสดุ/แบบคัดกรอง/อุปกรณ์/เครื่องมือในการออกคัดกรอง ตลอดจนแผ่นพับความรู้ เรื่องโรคความดันโลหิตสูงเเละโรคเบาหวาน ให้เพียงพอในการดำเนินการ 8.เจ้าหน้าที่สาธารณสุขเเละอสม. ออกดำเนินการเชิงรุกในชุมชนในการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน พร้อมเเปรผลการตรวจ เเละให้ความรู้ ความเข้าใจในการดูเเลสุขภาพเบื้องต้นเเก่ประชาชนในหมู่บ้าน 9.ทำการตรวจคัดกรอง NCD ซ้ำพบผิดปกติ รักษาเเละส่งต่ออย่างเหมาะสม 10.ขึ้นทะเบียนผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยเบาหวาน รายใหม่ มอบสมุดคู่มือดูเเลสุขภาพรายบุคคล 11.สรุปผล/วิเคราะห์ข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย คืนข้อมูลสู่ชุมชนเพื่อจัดทำแผนงาน,โครงการร่วมกับภาคีเครือข่ายโดยชุมชนต่อเนื่องไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประชาชนอายุ 5 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง-เบาหวาน 2.ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูเเลสุขภาพเบื้องต้น/ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างเหมาะสม 3.อสม.มีความรู้ในการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง-เบาหวาน อย่างถูกต้องเเละสามารถให้คำเเนะนำในการปฏิบัติตนเเละการรักษาได้อย่างเหมาะสม 4.ประชาชนกลุ่มเสี่ยง เเละกลุ่มป่วย ได้รับการเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส. เเละมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมอย่างต่อเนื่อง

 

200 0

2. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มป่วยความดันโลหิตสูง เบาหวาน หัวใจ เเละคัดกรอง CVD RISK

วันที่ 1 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ เเละขอสนับสนุนงบประมาณ 2.ประชุมชี้เเจงผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องรับทราบนโยบายเเละวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อให้มีความเข้าใจในเเนวเดียวกัน 3.จัดทำเเผนการออกปฏิบัติงานเชิงรุกในการดำเนินงานคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมองเเละภาวะอ้วนลงพุงประชากร 35ปีขค้นไปในเขตรับผิดชอบ 4.ประสานงานกับหน่อยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อความร่วมมือเเละสนับสนุนกิจกรรมการตรวจคัดกรองความเสี่ยงในชุมชน เช่น ผู้นำท้องถิ่น อสม. และภาคีเครือข่าย 5.ประชาสัมพันธ์การคัดกรองความเสี่ยง เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้าร่วมโครงการฯ 6.ประชุมชี้เเจง อสม. เพื่อไปดำเนินการคัดกรอง โรคความดันโลหิตสูงเเละโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยง 7.จัดเตรียมวัสดุ/แบบคัดกรอง/อุปกรณ์/เครื่องมือในการออกคัดกรอง ตลอดจนแผ่นพับความรู้ เรื่องโรคความดันโลหิตสูงเเละโรคเบาหวาน ให้เพียงพอในการดำเนินการ 8.เจ้าหน้าที่สาธารณสุขเเละอสม. ออกดำเนินการเชิงรุกในชุมชนในการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน พร้อมเเปรผลการตรวจ เเละให้ความรู้ ความเข้าใจในการดูเเลสุขภาพเบื้องต้นเเก่ประชาชนในหมู่บ้าน 9.ทำการตรวจคัดกรอง NCD ซ้ำพบผิดปกติ รักษาเเละส่งต่ออย่างเหมาะสม 10.ขึ้นทะเบียนผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยเบาหวาน รายใหม่ มอบสมุดคู่มือดูเเลสุขภาพรายบุคคล 11.สรุปผล/วิเคราะห์ข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย คืนข้อมูลสู่ชุมชนเพื่อจัดทำแผนงาน,โครงการร่วมกับภาคีเครือข่ายโดยชุมชนต่อเนื่องไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประชาชนอายุ 5 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง-เบาหวาน 2.ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูเเลสุขภาพเบื้องต้น/ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างเหมาะสม 3.อสม.มีความรู้ในการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง-เบาหวาน อย่างถูกต้องเเละสามารถให้คำเเนะนำในการปฏิบัติตนเเละการรักษาได้อย่างเหมาะสม 4.ประชาชนกลุ่มเสี่ยง เเละกลุ่มป่วย ได้รับการเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส. เเละมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมอย่างต่อเนื่อง

 

200 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.คัดกรองโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานในชุมชน จำนวน 1,186 คน คิดเป็นร้อยละ 91.31 2.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงด้วยโรค Metabolic จำนวน 200 คน
3.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานเเละคัดกรอง CVD RISK จำนวน 200 คน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานเเละความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง-เบาหวาน ร้อยละ 90
90.00 91.31

ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง-เบาหวาน จากยอดประชาชนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1,255 คน เเละได้รับการคัดกรองจริง 1,146 คน คิดเป็นร้อยละ 91.31

2 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส.
ตัวชี้วัด : 2.ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ร้อยละ 60
60.00 60.00

ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ร้อยละ 60

3 3.เพื่อให้กลุ่มป่วยได้รับการดูเเลรักษาเเละได้รับการส่งต่อตามเเนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี
ตัวชี้วัด : 3.ประชาชนกลุ่มป่วยได้รับการคัดกรองภาวะเเทรกซ้อน ตา ใจไต เท้า ร้อยละ60
60.00 60.00

ประชาชนกลุ่มป่วยได้รับการคัดกรองภาวะเเทรกซ้อน ตา ใจไต เท้า ร้อยละ60

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 400 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200 200
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานเเละความดันโลหิตสูง (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส. (3) เพื่อให้กลุ่มป่วยได้รับการดูเเลรักษาเเละได้รับการส่งต่อตามเเนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานในชุมชน จำนวน 1,186 คน คิดเป็นร้อยละ 91.31 (2) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงด้วยโรค Metabolic จำนวน 200 คน (3) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานเเละคัดกรอง CVD RISK จำนวน 200 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ ...ไม่มี...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการความคุมเเละป้องกันโรคความดันโลหิตสูงเเละโรคเบาหวานปี 2562

รหัสโครงการ 62-L2490-01-05 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤษภาคม 2562 - 30 กันยายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

ประชาชนได้รับความรู้ เรื่องการควบคุม ป้องกัน เเละดูเเลเมื่อเกิดโรคความดันโลหิตสูงเเละเบาหวาน เเละผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเเละเบาหวาน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเอง เพี่อลดความเสี่ยงของการเกิดโรคเเทรกซ้อนต่างๆ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการความคุมเเละป้องกันโรคความดันโลหิตสูงเเละโรคเบาหวานปี 2562 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2490-01-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเมธี มนุกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด