กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต


“ โครงการตรวจคัดกรองและค้นหาโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง ปี 2560 ”

ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกมือบา

ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองและค้นหาโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2482-1-7 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจคัดกรองและค้นหาโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง ปี 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองและค้นหาโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองและค้นหาโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2482-1-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 58,160.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สืบเนื่องมาจากหลายๆปีที่ผ่านมาคนไทยได้มีวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมาก มีการแข่งขันในด้านต่างๆที่สูงขึ้น ส่งผลให้พฤกติกรรมคนเราเปลี่ยนแปลงไปทั้งการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกหลักโภชนาการ อาหารที่เต็มไปด้วยของหวาน ของมัน ของเค็ม และไม่มีการออกกำลังกายที่เป็นรูปแบบอย่างชัดเจน ไม่ได้ใส่ใจต่อสุขภาพของตนเอง ส่งผลให้ประชาชนของประเทศไทยมีการป่วยด้วยโรคที่เกิดจากพฤติิกรรมของตนเอง หรือโรคที่สามารถป้องกันได้ สูงขึ้น ขาดความตระหนัก ขาดการเอาใจใส่ มุ่งหวังให้ได้มาแต่ด้านวัตถุ แต่ลืมนึกถึงสุขภาพร่างกายของตนเอง จนกลายเป็นปัญหาของประเทศ ประชาชนที่อยบู่ในเขตรับผิดชอบของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกมือบา ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม รองลงมาคือรับจ้างทั่วไป ระดับการศึกษาของประชากรส่วนใหญ่จบภาคบังคับ จากระดับการศึกษา อาชีพและวิถีชีวิตของชุมชนส่วนใหญ่ประชาชนยังให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพตนเอง น้อยที่ทำแต่งาน รับประทานอาหารที่หาได้ง่ายในชุมชน อาหารแปรรูปที่สามารถเก็บไว้รับประทานได้หลายวันโดยไม่เน่าเสีย และมีเกือบทุกหลังคาเรือน เช่น บูดู ปลาเค็ม และเนื้อหมัก ซึ่งจะมีรสชาติที่เค็มมาก และยังนิยมบริโภคอาหารที่มีรสหวาน รสมัน และพฤติกรรมการบริโภคน้ำชา กาแฟ เป็นกิจวัตรประจำวัน ประกอบกับการขาดการออกกำลังกายที่ถูกต้องตามรูปแบบ และยังมีพฤติกรรมที่ไม่นิยมรับประทานผัก จึงส่งผลให้ประชาชนในพื้นที่มีภาวะป่วยด้วยโรค ที่เกิดจากพฤติกรรมของตนเอง เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง และโรคหัวใจและหลอดเลือด เพิ่มขึ้นในแต่ละปี แม้ว่าทางเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจะให้ข้อมูล ให้สุขศึกษาที่เกี่ยวกับโรคเหล่านี้มาทุกๆปี แต่ก็ยังมีประชาชนที่ป่วยด้วยโรคดังกล่าวเพิ่มขึ้นในทุกๆปี เช่นเดียวกัน และยังมี กลุ่มผู้ป่วยก็กลายเป็นกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน มีความพิการทางด้านร่างกาย เจ้าหน้าที่สาธารณสุขของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกมือบา ได้เล็งเห็นถึงปัญหาที่เกิดขึ้น และได้คิดหาทางแก้ไขและป้องกันภาวะความรุนแรงของโรคเรื้อรังที่เกิดจากพฤติกรรมตนเองจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อคัดกรองกลุ่มเป้าหมายและหาแนวทางป้องกันแก้ไขปัญหาต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้และความตระหนักถึงการดูแลสุขภาพและการป้องกันตนเองจากโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
  2. 3. เพื่อให้ผู้ที่ตรวจคัดกรองพบภาวะเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง
  3. 4. เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ติดตามการรักษาของกลุ่มป่วย
  2. ให้ความรู้ในกลุ่มเป้าหมาย
  3. การตรวจคัดกรองภาวะของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  4. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  5. ส่งต่อผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยงพบแพทย์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,230
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ในการปฏิบัติตัวและป้องกันการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน รวมทั้งภาวะแทรกซ้อนจากโรคดังกล่าว
  2. ผู้ที่ตรวจคัดกรองพบความเสี่ยงได้รับการส่งต่อเพื่อพบแพทย์วินิจฉัยและรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
  3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองไ้ด้ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชน
  4. ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนใหม่ในกลุ่มป่วย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ให้ความรู้ในกลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 1 มิถุนายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชาสัมพันธ์โครงการ และประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเข้าร่วมโครงการ
  2. ตรวจสุขภาพกลุ่มเสี่ยงทุกๆ 3 เดือนครั้ง เพื่อติดตามการควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
  3. จัดอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยง ดังนี้ 3.1 จัดทีมสุขภาพสำหรับออกดำเนินงานคัดกรองความดันโลหิตสูง เบาหวาน และโรคหัวใจและหลอดเลือด ของโรงพยาบาล 3.2 ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองให้เหมาะสม เช่น 3 อ. 2 ส. และการเฝ้าระวังด้วยตนเองโดยใช้ปิงปอง 7 สี นวัตกรรมอื่นๆ ที่มีในชุมชน 3.3 สาธิตและฝึกปฏิบัติตามหลัก 3 อ. 2 ส. และให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องทั้งในสถานบริการและในชุมชนเกี่ยวกับบทบาทในการจัดการหรือการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว ชุมชนเพื่อป้องกันการเกิดโรคและภาวะแทรกซ้อนโดย อสม.และเจ้าหน้าที่อย่างต่อเนื่อง 3.4 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยบุคคลต้นแบบที่สามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้องและสามารถควบคุมความดัน และเบาหวานได้ 3.5 ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ
  4. ติดตามประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 187 คน
  2. ผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวานจำนวน 21 คน
  3. ผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จำนวน 38 คน

 

1,230 0

2. การตรวจคัดกรองภาวะของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

วันที่ 1 มิถุนายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชาสัมพันธ์โครงการ และประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเข้าร่วมโครงการ
  2. ตรวจสุขภาพกลุ่มเสี่ยงทุกๆ 3 เดือนครั้ง เพื่อติดตามการควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
  3. จัดอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยง ดังนี้ 3.1 จัดทีมสุขภาพสำหรับออกดำเนินงานคัดกรองความดันโลหิตสูง เบาหวาน และโรคหัวใจและหลอดเลือด ของโรงพยาบาล 3.2 ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองให้เหมาะสม เช่น 3 อ. 2 ส. และการเฝ้าระวังด้วยตนเองโดยใช้ปิงปอง 7 สี นวัตกรรมอื่นๆ ที่มีในชุมชน 3.3 สาธิตและฝึกปฏิบัติตามหลัก 3 อ. 2 ส. และให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องทั้งในสถานบริการและในชุมชนเกี่ยวกับบทบาทในการจัดการหรือการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว ชุมชนเพื่อป้องกันการเกิดโรคและภาวะแทรกซ้อนโดย อสม.และเจ้าหน้าที่อย่างต่อเนื่อง 3.4 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยบุคคลต้นแบบที่สามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้องและสามารถควบคุมความดัน และเบาหวานได้ 3.5 ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ
  4. ติดตามประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 187 คน
  2. ผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน จำนวน 21 คน

 

0 0

3. ส่งต่อผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยงพบแพทย์

วันที่ 1 มิถุนายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชาสัมพันธ์โครงการ และประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเข้าร่วมโครงการ
  2. ตรวจสุขภาพกลุ่มเสี่ยงทุกๆ 3 เดือนครั้ง เพื่อติดตามการควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
  3. จัดอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยง ดังนี้ 3.1 จัดทีมสุขภาพสำหรับออกดำเนินงานคัดกรองความดันโลหิตสูง เบาหวาน และโรคหัวใจและหลอดเลือด ของโรงพยาบาล 3.2 ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองให้เหมาะสม เช่น 3 อ. 2 ส. และการเฝ้าระวังด้วยตนเองโดยใช้ปิงปอง 7 สี นวัตกรรมอื่นๆ ที่มีในชุมชน 3.3 สาธิตและฝึกปฏิบัติตามหลัก 3 อ. 2 ส. และให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องทั้งในสถานบริการและในชุมชนเกี่ยวกับบทบาทในการจัดการหรือการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว ชุมชนเพื่อป้องกันการเกิดโรคและภาวะแทรกซ้อนโดย อสม.และเจ้าหน้าที่อย่างต่อเนื่อง 3.4 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยบุคคลต้นแบบที่สามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้องและสามารถควบคุมความดัน และเบาหวานได้ 3.5 ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ
  4. ติดตามประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 187 คน
  2. ผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน  จำนวน 21 คน
  3. ผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จำนวน 38 คน

 

0 0

4. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

วันที่ 1 มิถุนายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชาสัมพันธ์โครงการ และประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเข้าร่วมโครงการ
  2. ตรวจสุขภาพกลุ่มเสี่ยงทุกๆ 3 เดือนครั้ง เพื่อติดตามการควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
  3. จัดอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยง ดังนี้ 3.1 จัดทีมสุขภาพสำหรับออกดำเนินงานคัดกรองความดันโลหิตสูง เบาหวาน และโรคหัวใจและหลอดเลือด ของโรงพยาบาล 3.2 ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองให้เหมาะสม เช่น 3 อ. 2 ส. และการเฝ้าระวังด้วยตนเองโดยใช้ปิงปอง 7 สี นวัตกรรมอื่นๆ ที่มีในชุมชน 3.3 สาธิตและฝึกปฏิบัติตามหลัก 3 อ. 2 ส. และให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องทั้งในสถานบริการและในชุมชนเกี่ยวกับบทบาทในการจัดการหรือการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว ชุมชนเพื่อป้องกันการเกิดโรคและภาวะแทรกซ้อนโดย อสม.และเจ้าหน้าที่อย่างต่อเนื่อง 3.4 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยบุคคลต้นแบบที่สามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้องและสามารถควบคุมความดัน และเบาหวานได้ 3.5 ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ
  4. ติดตามประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 187 คน
  2. ผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน  จำนวน 21 คน
  3. ผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จำนวน 38 คน

 

0 0

5. ติดตามการรักษาของกลุ่มป่วย

วันที่ 11 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชาสัมพันธ์โครงการ และประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเข้าร่วมโครงการ
  2. ตรวจสุขภาพกลุ่มเสี่ยงทุกๆ 3 เดือนครั้ง เพื่อติดตามการควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
  3. จัดอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยง ดังนี้ 3.1 จัดทีมสุขภาพสำหรับออกดำเนินงานคัดกรองความดันโลหิตสูง เบาหวาน และโรคหัวใจและหลอดเลือด ของโรงพยาบาล 3.2 ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองให้เหมาะสม เช่น 3 อ. 2 ส. และการเฝ้าระวังด้วยตนเองโดยใช้ปิงปอง 7 สี นวัตกรรมอื่นๆ ที่มีในชุมชน 3.3 สาธิตและฝึกปฏิบัติตามหลัก 3 อ. 2 ส. และให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องทั้งในสถานบริการและในชุมชนเกี่ยวกับบทบาทในการจัดการหรือการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว ชุมชนเพื่อป้องกันการเกิดโรคและภาวะแทรกซ้อนโดย อสม.และเจ้าหน้าที่อย่างต่อเนื่อง 3.4 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยบุคคลต้นแบบที่สามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้องและสามารถควบคุมความดัน และเบาหวานได้ 3.5 ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ
  4. ติดตามประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ในการปฏิบัติตัวและป้องกันการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน รวมทั้งภาวะแทรกซ้อนจากโรคดังกล่าว
  2. ผู้ที่ตรวจคัดกรองพบความเสี่ยงได้รับการส่งต่อเพื่อพบแพทย์วินิจฉัยและรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
  3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองไ้ด้ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชน
  4. ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนใหม่ในกลุ่มป่วย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. กลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงคิดเป็นร้อยละ 95.91 และได้รับการคัดกรองระดับน้ำตาลในเลือดคิดเป็นร้อยละ 93.77     กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการคัดกรองมีภาวะความดันโลหิตสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานคิดเป็นร้อยละ 28.40 และมีภาวะระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานคิดเป็นร้อยละ 11.68
  2. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายโดยส่วนใหญ่มีความรู้ในการปฏิบัติตัวและป้องกันการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน รวมทั้งมีความรู้ในเรื่องการป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคดังกล่าว
  3. ผู้ทึี่ตรวจคัดกรองพบความเสี่ยงได้รับการส่งต่อเพื่อพบแพทย์และรับการตรวจวินิจฉัยที่ถุูกต้อง แต่ยังมีผู้เสี่ยงต่อการป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานบางรายที่ปฏิเสธการพบแพทย์เพื่อการตรวจวินิจฉัยโรค
  4. ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ได้รับความรู้ในเรื่องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองได้ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชนโดยใช้ตารางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี แต่กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองได้น้อย และไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้อย่างต่อเนื่อง จึงส่งผลให้ กลุ่มเสี่ยงกลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่เนื่องจากไม่สามารถปรับเปลียนพฤติกรรมได้ และกลุ่มป่วยเองก็ไม่ได้ให้ความสำคัญในการรักษา ไม่สามารถควบคุมอาการของโรคได้จากหลายๆ สาเหตุส่งผลให้ผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนตามมา บางรายต้องกลายเป็นผู้พิการ สาเหตุที่ผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมอาการของตัวเองได้ มีดังนี้     4.1 ไม่มารับยาอย่างต่อเนื่อง จากสาเหตุ           - ไม่มีอาการของโรค           - ไม่มีคนพามารับยา           - ทานยาสมุนไพร (พืชที่เชื่อว่าเป็นยาสมุนไพร, ชื่อยาที่เชื่อว่าเป็นยาสมุนไพรมารับประทาน)     4.2 ไม่รับประทานยาอย่างต่อเนื่อง จากสาเหตุ           - คิดว่าหายและเพราะไม่มีอาการของโรค           - มีความเชื่อว่าหากรับประทานยาพร้อมอาหารหรือผลไม้บางอย่างอาจทำให้เมาได้ 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้และความตระหนักถึงการดูแลสุขภาพและการป้องกันตนเองจากโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในเรื่องปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคร้อยละ 80
1230.00

 

2 3. เพื่อให้ผู้ที่ตรวจคัดกรองพบภาวะเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงเข้าร่วมกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ 50 2. ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองซ้ำอย่างน้อย 2 ครั้งร้อยละ 50 3. ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการส่งพบแพทย์เพื่อรับการรักษาที่ถูกต้องร้อยละ 80
1230.00

 

3 4. เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่องร้อยละ 80 2. อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนรายใหม่ลดลงร้อยละ 10
1230.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1230
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,230
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้และความตระหนักถึงการดูแลสุขภาพและการป้องกันตนเองจากโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน (2) 3. เพื่อให้ผู้ที่ตรวจคัดกรองพบภาวะเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง (3) 4. เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ติดตามการรักษาของกลุ่มป่วย (2) ให้ความรู้ในกลุ่มเป้าหมาย (3) การตรวจคัดกรองภาวะของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (4) กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (5) ส่งต่อผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยงพบแพทย์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตรวจคัดกรองและค้นหาโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง ปี 2560 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2482-1-7

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกมือบา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด