กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ


“ โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน หมู่ที่ 8 ”

ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวจิดาภา โสะหาบ

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน หมู่ที่ 8

ที่อยู่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L1504-2-31 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน หมู่ที่ 8 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน หมู่ที่ 8



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน หมู่ที่ 8 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-L1504-2-31 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,715.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาที่สำคัญของการสาธารณสุขระดับประเทศ ซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้มของการเกิดโรคสูงขึ้น สามารถพบผู้ป่วยไข้ด้วยโรคไข้เลือดออกในทุกกลุ่มอายุและมีการเกิดโรคตลอดทั้งปี จึงจำเป็นต้องมีการป้องกันที่ดีที่สุดคือการควบคุมจำนวนลูกน้ำยุงลาย โดยการกำจัดทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลานให้หมด ซึ่งโรคไข้เลือดออกส่งผลต่อสุขภาพของผู้ป่วยเอง ชุมชน และสังคม ทางกระทรวงสาธารณสุขได้ดำเนินการรณรงค์เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกมาอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน อย่างไรก็ตามสถานการณ์การเกิดโรคไข้เลือดออกยังคงมีการระบาดทุกปี   จากสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกของจังหวัดตรัง พบว่าในปี 2561 มีอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก 96.88 ต่อแสนประชากร อำเภอย่านตาขาวมีอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก 142.60 ต่อแสนประชาชน ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนานิน พบว่า มีอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก 219.72 ต่อแสนประชากร สำหรับของหมู่ที่ 8 บ้านทุ่งรวงทองปี พ.ศ. 2561และปี พ.ศ. 2562( เดือน มกราคม- มิถุนายน) ยังไม่มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก แต่พบว่ามีการระบาดชองโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้านใกล้เคียง จึงมีความจำเป็นที่จะต้องมีการป้องกันควบคุมโรค ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดเกณฑ์อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกให้ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร และมีการระบาดต่อเนื่องทุกปี แม้ว่าจะมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยอาสาสมัครสาธารณสุขในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย ด้วยวิธีทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ การใส่สารเคมีกำจัดลูกน้ำ การให้ความรู้แก่ประชาชนตามเขตรับผิดชอบแล้วก็ตาม แต่ก็ยังพบผู้ป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง และยังพบว่าประชาชนในชุมชนยังไม่ให้ความสำคัญกับการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ไม่มีการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้านและรอบบริเวณบ้านตนเอง ไม่มีการปรับปรุงสภาพแวดล้อม เพราะคิดว่าเป็นหน้าที่ของอาสาสมัครสาธารณสุขที่จะต้องไปทำ ขาดความร่วมมือจากชุมชน เพื่อให้ประชาชนในชุมชนเกิดความตระหนักในการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก ควบคุมลูกน้ำยุงลายให้ได้ผล ต้องอาศัยความร่วมมือ ร่วมใจจากประชาชนในชุมชน โรงเรียน และเครือข่าย   ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านหมู่ที่ 8 บ้านทุ่งรวงทอง จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ในปี 2562 ขึ้น โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อลดอัตราป่วยของโรคไข้เลือดออกลงให้เหลือน้อยที่สุด โดยดำเนินการกำจัดลูกน้ำยุงลายทุกหลังคาเรือนอย่างต่อเนื่อง โดยเน้นให้มีการดำเนินงานให้มีความครอบคลุมจะส่งผลให้การควบคุมลูกน้ำยุงลายให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น อันจะส่งผลให้สามารถลดการระบาดของโรคไข้เลือดออกลงได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในประชาชนหมู่ที่ 8 บ้านทุ่งรวงทอง
  2. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชากรในชุมชนหมู่ที่ 8 บ้านทุ่งรวงทองให้เหลือไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
  3. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและมีศักยภาพในการช่วยกันดูแลและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม
  4. เพื่อสร้างความร่วมมือในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและลูกน้ำยุงลายในชุมชน ได้แก่บ้าน วัด มัสยิด โรงเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 180
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนทุกครัวเรือนมีความรู้ความเข้าใจและร่วมมือในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง   2. ไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในพื้นที่   3. สามารถเฝ้าระวังและควบคุมโรคในพื้นที่ได้   4. ไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในประชาชนหมู่ที่ 8 บ้านทุ่งรวงทอง
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชากรในชุมชนหมู่ที่ 8 บ้านทุ่งรวงทองให้เหลือไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและมีศักยภาพในการช่วยกันดูแลและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    4 เพื่อสร้างความร่วมมือในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและลูกน้ำยุงลายในชุมชน ได้แก่บ้าน วัด มัสยิด โรงเรียน
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 180
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 180
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในประชาชนหมู่ที่ 8 บ้านทุ่งรวงทอง (2) เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชากรในชุมชนหมู่ที่ 8 บ้านทุ่งรวงทองให้เหลือไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร (3) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและมีศักยภาพในการช่วยกันดูแลและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม (4) เพื่อสร้างความร่วมมือในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและลูกน้ำยุงลายในชุมชน ได้แก่บ้าน วัด  มัสยิด โรงเรียน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน หมู่ที่ 8 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 62-L1504-2-31

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวจิดาภา โสะหาบ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด