กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมอง ลดพุง ลดโรค ”

ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายจำนงค์ ฤทธิเดช/ผอ.รพ.สต.บ้านหาดไข่เต่า

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมอง ลดพุง ลดโรค

ที่อยู่ ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-L3332-1-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 สิงหาคม 2562 ถึง 23 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมอง ลดพุง ลดโรค จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมอง ลดพุง ลดโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมอง ลดพุง ลดโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 62-L3332-1-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 สิงหาคม 2562 - 23 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,720.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งมีผลกระทบมาจากกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกและการเปลี่ยนแปลงของประเทศไทยทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ การแข่งขันทางการตลาด การสื่อสารและการคมนาคม รวมถึงการใช้เทคโนโลยีมากขึ้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลกระทบต่อวิถีชีวิตและสุขภาพของประชาชนไทยเป็นอย่างมาก จะเห็นได้จากในอดีตปัญหาสุขภาพของประชาชนส่วนใหญ่เจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อ แต่ในปัจจุบัน และในอนาคต ปัญหาสุขภาพจะมีผลกระทบมาจากสังคม สิ่งแวดล้อม และพฤติกรรมมากขึ้นตามลำดับ จะเห็นได้จากพฤติกรรมที่เป็นปัญหา เช่น พฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมการออกกำลังกาย พฤติกรรมความปลอดภัย การใช้ยาและสารเสพติด ปัญหาสุขภาพจิต เป็นต้น ดังนั้น การดำเนินการในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของประเทศ จำเป็นจะต้องพัฒนาประชาชนให้มีองค์ความรู้ และทักษะที่จำเป็น และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม ทั้งระดับบุคคลครอบครัว และชุมชนครอบคลุม กลุ่มประชากรเป้าหมาย เพื่อให้ประชาชนสามารถส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้แก่ตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้ ซึ่งการดำเนินงานดังกล่าวจำเป็นจะต้องส่งเสริมพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่สำคัญๆ ที่ก่อให้เกิดปัญหาสาธารณสุขของประเทศ นโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ช่วยคนไทยห่างไกลโรค มีเป้าหมายที่สำคัญ คือ การสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชน และลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาว โดยใช้กระบวนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการขับเคลื่อนให้การดำเนินงานช่วยคนไทยห่างไกลโรคให้บรรลุผลสำเร็จ โดยการส่งเสริมให้มีความรู้ และทักษะในการดูแลตนเอง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยใช้หลัก ๓อ.๒ส. เป็นหลัก เพื่อให้มีสุขภาวะในทุกด้าน หลังการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเพื่อ ค้นหาโรคในระยะเริ่มต้น
ปัจจัยสำคัญที่เชื่อว่าเป็นสาเหตุของโรคเรื้อรังคือ พฤติกรรมในการดำเนินชีวิตของบุคคลขาดความสมดุล เช่น การรับประทานอาหารไขมันสูง อาหารรสหวานจัดและเค็มจัด ไม่รับประทานผัก ผลไม้ ไม่ออกกำลังกาย การใช้ชีวิตที่สะดวกสบายเกินไป และการใช้สารเสพติด เป็นต้น นอกจากนั้นยังมีการระบุว่าความเครียดในชีวิตยังเป็นปัจจัยร่วมที่ทำให้เกิดโรคเรื้อรังได้ คนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังคือ ผู้มีภาวะอ้วน ผู้ที่มีคลอเรสเตอรอลในเลือดสูงผู้มีอายุเกิน 35 ปี ผู้ที่ขาดการออกกำลังกาย และผู้ที่มีภาวะเครียดสูงโรคหัวใจและหลอดเลือด (cardiovascular diseases)เป็นกลุ่มโรคที่เกิดกับระบบหัวใจและ หลอดเลือด เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญระดับประเทศ ซึ่งเป็นสาเหตุการป่วย พิการและเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของโลกรวมถึงประเทศไทยในปัจจุบัน โดยสามในสี่ของการเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือดทั้งหมดเกิดจากโรคหัวใจขาดเลือด (ischaemic heart diseases) และโรคหลอดเลือดสมอง (cerebrovascular diseases) ซึ่งเกิดจากการที่หลอดเลือดตีบตันหรือขาดความยืดหยุ่นจากการสะสมของไขมัน โปรตีนและแร่ธาตุ ที่บริเวณผนังหลอดเลือด สาเหตุการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในคนไทยที่สำคัญ ได้แก่ ภาวะความดันโลหิตสูง ภาวะไขมันเลือดสูง เบาหวาน การสูบบุหรี่ และภาวะอ้วน การรักษาโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงโดยการให้ความสำคัญเฉพาะด้านการแพทย์อาจไม่เพียงพอ เพื่อการควบคุมโรคที่สมบูรณ์ ผู้ป่วยต้องได้รับความรู้เรื่องโรครวมไปถึงความรู้เรื่องโภชนาการและการออกกำลังกายที่ถูกต้อง พร้อมทั้งได้รับการกระตุ้นการเปลี่ยนพฤติกรรมผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น ค่ายเบาหวาน ความดันหรือกิจกรรมชมรมอย่างสม่ำเสมอซึ่งถ้าปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดตั้งแต่ระยะต้น ก็จะสามารถใช้ชีวิตอย่างมีความสุขโดยปราศจากโรคแทรกซ้อนได้ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาดไข่เต่า จึงจัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมอง ลดโรค ลดพุง ขึ้นเพื่อปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดขึ้น เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงแก้ปัญหาการเกิดโรคเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือดที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต ลดภาระและการสูญเสียในทุกมิติ ทั้งกาย จิต สังคม เศรษฐกิจต่อผู้ป่วย ครอบครัว และประเทศชาติ เพื่อปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  2. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
  3. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)
  4. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความเชื่อในความสามารถของตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมความเสี่ยงของโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือดเพิ่มขึ้น
  5. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่เหมาะสม ในเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกำลัง กาย การจัดการความเครียดด้วยตนเอง ดูแลและเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น
  6. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น หลังจากเข้าร่วมโครงการ โดยพิจารณาจากค่าดัชนีมวลกาย รอบเอว และความดันโลหิตสูง
  7. เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและความดันโลหิตมีความรู้และพฤติกรรมที่ พึงประสงค์ในเรื่อง 3 อ.2 ส.และไม่เกิดเป็นกลุ่มป่วย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ แก่ ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ที่ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันไม่ได้
  2. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ แก่ กลุ่มเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 60 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มป่วยที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน สามารถควบคุมโรคได้ ลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน ๒. อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมีผลการ
    ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด/ระดับความดันโลหิต เปลี่ยนแปลงอยู่ในเกณฑ์ปกติ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ แก่ ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ที่ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันไม่ได้

วันที่ 26 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ แก่ ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ที่ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันไม่ได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเสี่ยงมีความสามารถในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมความเสี่ยงของโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง  มีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่เหมาะสม

 

60 0

2. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ แก่ กลุ่มเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 60 คน

วันที่ 27 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ แก่ กลุ่มเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 60  คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเสี่ยงมีความสามารถในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมความเสี่ยงของโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง  มีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่เหมาะสม

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
3.00 80.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
3.00 80.00

 

3 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)
3.00 80.00

 

4 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความเชื่อในความสามารถของตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมความเสี่ยงของโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือดเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด :
0.00

 

5 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่เหมาะสม ในเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกำลัง กาย การจัดการความเครียดด้วยตนเอง ดูแลและเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด :
0.00

 

6 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น หลังจากเข้าร่วมโครงการ โดยพิจารณาจากค่าดัชนีมวลกาย รอบเอว และความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

7 เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและความดันโลหิตมีความรู้และพฤติกรรมที่ พึงประสงค์ในเรื่อง 3 อ.2 ส.และไม่เกิดเป็นกลุ่มป่วย
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (3) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) (4) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความเชื่อในความสามารถของตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมความเสี่ยงของโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือดเพิ่มขึ้น (5) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่เหมาะสม ในเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกำลัง                กาย การจัดการความเครียดด้วยตนเอง ดูแลและเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น (6) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น หลังจากเข้าร่วมโครงการ โดยพิจารณาจากค่าดัชนีมวลกาย  รอบเอว และความดันโลหิตสูง (7) เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและความดันโลหิตมีความรู้และพฤติกรรมที่                พึงประสงค์ในเรื่อง 3 อ.2 ส.และไม่เกิดเป็นกลุ่มป่วย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ แก่ ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ที่ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันไม่ได้ (2) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ แก่ กลุ่มเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 60  คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมอง ลดพุง ลดโรค จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-L3332-1-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายจำนงค์ ฤทธิเดช/ผอ.รพ.สต.บ้านหาดไข่เต่า )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด