กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างเครือข่ายแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว ( อสค. ) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ยอำเภอควนกาหลงจังหวัดสตูลปีงบประมาณ2562

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย


“ โครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างเครือข่ายแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว ( อสค. ) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ยอำเภอควนกาหลงจังหวัดสตูลปีงบประมาณ2562 ”

ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายทรรศนะ สกุลดิษฐ

ชื่อโครงการ โครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างเครือข่ายแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว ( อสค. ) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ยอำเภอควนกาหลงจังหวัดสตูลปีงบประมาณ2562

ที่อยู่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5281-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างเครือข่ายแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว ( อสค. ) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ยอำเภอควนกาหลงจังหวัดสตูลปีงบประมาณ2562 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างเครือข่ายแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว ( อสค. ) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ยอำเภอควนกาหลงจังหวัดสตูลปีงบประมาณ2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างเครือข่ายแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว ( อสค. ) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ยอำเภอควนกาหลงจังหวัดสตูลปีงบประมาณ2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L5281-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,680.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กระทรวงสาธารณสุขมีระบบการสร้างความรู้ในชุมชน เพื่อให้คนมีความรู้เรื่องสุขภาพสามารถดูแลสุขภาพของประชาชนในระดับชุมชนได้เป็นอย่างดี ด้วยการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในรูปแบบอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)ที่ดีที่สุดแห่งหนึ่งของโลกส่วนในระดับครอบครัว ซึ่งเป็นแกนกลางของสังคมที่เป็นรากฐานสำคัญยิ่งต่อการดำรงชีวิต หากมีการสร้างเครือข่ายความรู้ด้านสุขภาพต่อยอดจากชุมชนเข้าสู่ครัวเรือน จะทำให้ประชาชนมีความรู้และทักษะในการวิเคราะห์และจัดการปัจจัยเสี่ยงภัยสุขภาพ สามารถดูแลสุขภาพคนในครอบครัวตนเองได้ครอบครัวเป็นกลุ่มบุคคล ที่มีความผูกพันและใช้ชีวิตร่วมกันมีปฏิสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกัน ไม่ว่าจะเป็นพ่อแม่ ญาติ พี่น้อง ซึ่งแต่ละคนจะมีพฤติกรรมสุขภาพที่แตกต่างกัน มีปัญหาด้าน สุขภาพที่อาจจะเหมือนกันหรือต่างกันแล้วแต่สุขภาวะของแต่ละบุคคล การที่จะทำให้ครอบครัวนั้นๆมีสุขภาพดี มีชีวิตยืนยาว และสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุขนั้น จะต้องได้รับการดูแล แนะนำ ส่งเสริม ป้องกัน จัดการความเสี่ยงและภัยสุขภาพไม่ให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพขึ้น หากมีผู้ป่วยหรือผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงในครอบครัว ต้องได้รับการดูแล ซึ่งบุคคลที่ดีและเหมาะสมที่สุดก็คือ สมาชิกในครอบครัวนั้นๆ โรงพยาบาลส่งเสริมตำบลสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ย จึงได้ดำเนินการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างเครือข่ายอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) ด้วยการนำลูก หลาน ญาติ พี่น้องหรือสมาชิกในครอบครัว รวมถึงเพื่อนบ้านหรือบุคคลที่ครอบครัวไว้วางใจ ให้มาเป็นผู้ดูแลสุขภาพของครอบครัว นำมายกระดับ ปรับทัศนคติ และเพิ่มเติมความรู้ร่วมกับการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้มากขึ้น เพื่อนำบุคลากรเหล่านั้นมาเป็นพลังและ เป็นเครือข่ายเข้าสู่ครัวเรือน ให้มีคนรู้ วิธีในการดูแลสุขภาพคนในครอบครัวได้ โดยการเรียนรู้จากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จิตอาสา และการเรียนรู้ด้วยตนเอง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มพูนความรู เจตคติ ทักษะและความสามารถในการปฏิบัติตนเองดานสุขภาพอนามัยที่ถูกตองสามารถดูแลสุขภาพดวยตนเองแกสมาชิกในครอบครัวไดอยางมีประสิทธิผล
  2. เพื่อพัฒนาทักษะในปฏิบัติงานอาสาสมัครประจําครอบครัว (อสค.) ไดอยางมีคุณภาพ และเชื่อมโยง สงตอเปนเครือขายสานตอการดูแลสุขภาพกับ อสม. อยางเปนรางแหเดียวกัน
  3. เพื่อให้มีความสามารถและสงเสริมคุณภาพชีวิตของสมาชิกในครอบครัว ใหดํารงชีวิตไดอยางมีศักดิ์ศรีและมีคุณคา สรางสรรคความเจริญตอชุมชน ตลอดจนชุมชนมีความมั่นคงในการดูแลชวยเหลือเกื้อกูลกัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างเครือข่ายแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว ( อสค. )

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 117
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู เจตคติ ทักษะและความสามารถในการปฏิบัติตนดานสุขภาพอนามัย   ที่ถูกตองสามารถให้การดูแลสุขภาพแกสมาชิกในครอบครัวไดอยางมีประสิทธิผล ๒. ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะในทำงานเป็นอาสาสมัครประจําครอบครัว (อสค.) อยางมีคุณภาพ และ เชื่อมโยง สงตอเปนเครือขายสานตอการดูแลสุขภาพกับอสม. อยางเปนรางแหเดียวกัน
๓. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความสามารถและส่งเสริมคุณภาพชีวิตของสมาชิกในครอบครัว ให้ดํารงชีวิตได้
อย่างมีศักดิ์ศรีและมีคุณค่า สร้างสรรค์ความเจริญต่อชุมชน ตลอดจนชุมชนมีความมั่นคงในการ ดูแลช่วยเหลือเกื้อกูลกัน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มพูนความรู เจตคติ ทักษะและความสามารถในการปฏิบัติตนเองดานสุขภาพอนามัยที่ถูกตองสามารถดูแลสุขภาพดวยตนเองแกสมาชิกในครอบครัวไดอยางมีประสิทธิผล
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มมากขึ้น
0.00

 

2 เพื่อพัฒนาทักษะในปฏิบัติงานอาสาสมัครประจําครอบครัว (อสค.) ไดอยางมีคุณภาพ และเชื่อมโยง สงตอเปนเครือขายสานตอการดูแลสุขภาพกับ อสม. อยางเปนรางแหเดียวกัน
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการดูแลผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสม และทำงานร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขได้อย่างมีประสิทธิภาพ
0.00

 

3 เพื่อให้มีความสามารถและสงเสริมคุณภาพชีวิตของสมาชิกในครอบครัว ใหดํารงชีวิตไดอยางมีศักดิ์ศรีและมีคุณคา สรางสรรคความเจริญตอชุมชน ตลอดจนชุมชนมีความมั่นคงในการดูแลชวยเหลือเกื้อกูลกัน
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยได้รับการดูแลจากบุคคลในครอบครัวอย่างมีประสิทธิภาพ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 117
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 117
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มพูนความรู เจตคติ ทักษะและความสามารถในการปฏิบัติตนเองดานสุขภาพอนามัยที่ถูกตองสามารถดูแลสุขภาพดวยตนเองแกสมาชิกในครอบครัวไดอยางมีประสิทธิผล (2) เพื่อพัฒนาทักษะในปฏิบัติงานอาสาสมัครประจําครอบครัว (อสค.) ไดอยางมีคุณภาพ และเชื่อมโยง สงตอเปนเครือขายสานตอการดูแลสุขภาพกับ อสม. อยางเปนรางแหเดียวกัน (3) เพื่อให้มีความสามารถและสงเสริมคุณภาพชีวิตของสมาชิกในครอบครัว ใหดํารงชีวิตไดอยางมีศักดิ์ศรีและมีคุณคา สรางสรรคความเจริญตอชุมชน ตลอดจนชุมชนมีความมั่นคงในการดูแลชวยเหลือเกื้อกูลกัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างเครือข่ายแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว ( อสค. )

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างเครือข่ายแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว ( อสค. ) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ยอำเภอควนกาหลงจังหวัดสตูลปีงบประมาณ2562 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5281-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายทรรศนะ สกุลดิษฐ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด