กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล


“ โครงการเยาวชนยุคใหม่ ใส่ใจ สุขภาพด้านอาหารปลอดภัย และผลิตภัณฑ์สุขภาพรพ.สต.นางเหล้า อ.สทิงพระ จ.สงขลา ปี 2562 ”

ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสมรัตน์ ขำมาก

ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนยุคใหม่ ใส่ใจ สุขภาพด้านอาหารปลอดภัย และผลิตภัณฑ์สุขภาพรพ.สต.นางเหล้า อ.สทิงพระ จ.สงขลา ปี 2562

ที่อยู่ ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5238-01-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยาวชนยุคใหม่ ใส่ใจ สุขภาพด้านอาหารปลอดภัย และผลิตภัณฑ์สุขภาพรพ.สต.นางเหล้า อ.สทิงพระ จ.สงขลา ปี 2562 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนยุคใหม่ ใส่ใจ สุขภาพด้านอาหารปลอดภัย และผลิตภัณฑ์สุขภาพรพ.สต.นางเหล้า อ.สทิงพระ จ.สงขลา ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเยาวชนยุคใหม่ ใส่ใจ สุขภาพด้านอาหารปลอดภัย และผลิตภัณฑ์สุขภาพรพ.สต.นางเหล้า อ.สทิงพระ จ.สงขลา ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5238-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,805.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันพฤติกรรมในการเลือกรับประทานอาหาร หรือการเลือกซื้อใช้ผลิตภัณฑ์ประเภทยาและเครื่องสำอางของเยาวชนที่อยู่ในวัยเรียนซึ่งส่วนใหญ่มักมีพฤติกรรมในการเลือกซื้อ หรือใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีสีสันต้องตา หรือกำลังอยู่ในช่วงของการโฆษณา ตามสื่อประเภทต่างๆ โดยมิได้คำนึงถึงประโยชน์ อันตราย หรือความปลอดภัย พฤติกรรมดังกล่าวนี้อาจเกิดจากหลายสาเหตุ เช่น วิถีการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนไปจากเดิม มีสื่อประเภทต่างๆ เข้ามามีบทบาทในสังคมเพิ่มมากขึ้น ทำให้ผู้บริโภคหลงเชื่อจนกระทั่งตัดสินใจเลือกซื้อใช้ผลิตภัณฑ์นั้นๆ
เยาวชนที่อยู่ในวัยเรียน ถือว่าเป็นกลุ่มผู้บริโภคอีกกลุ่มหนึ่งที่มีความสำคัญหากกลุ่มเยาวชนไม่ได้รับความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้ออาหาร ผลิตภัณฑ์ประเภทต่างๆ ซึ่งผู้ผลิตได้ผลิตออกมาเพื่อสนองความต้องการของผู้บริโภคอย่างหลากหลายมีทั้งผลิตภัณฑ์ที่ถูกต้องตามมาตรฐานที่กำหนดและผลิตภัณฑ์ที่ผู้ผลิตได้แอบอ้างสรรพคุณมีการโฆษณาชวนเชื่อเกินความเป็นจริง หรืออาจมีผลิตภัณฑ์ที่มีสารปนเปื้อนเป็นอันตราย ปะปนอยู่เป็นจำนวนมาก ดังนั้นการให้ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร และการอ่านดูข้อมูลโภชนาการจากฉลากผลิตภัณฑ์เป็นสิ่งที่สำคัญ หากเยาวชนมีความรู้และมีทักษะในการเลือกซื้อใช้ผลิตภัณฑ์ประเภทต่างๆ จะทำให้สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันจนสามารถทำให้ปัญหาด้านสุขภาพลดน้อยลง   ดังนั้น รพ.สต.ชุมพล จึงได้จัดทำโครงการ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนโรงเรียนสมเด็จเจ้าพะโคะ มีความรู้ด้าน อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตลอดจนมีส่วนร่วมในเฝ้าระวังและตรวจคุณภาพความปลอดภัยของอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพเพื่อให้ตนเองและบุคคลในครอบครัว มีพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้อง เหมาะสมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย
  2. เพื่อให้นักเรียนสามารถตรวจคุณภาพความปลอดภัยของอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพได้ถูกต้อง
  3. มีการจัดตั้งชมรม อย.น้อยและดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ในโรงเรียน
  4. โรงเรียนเข้าร่วมโครงการ NO FOAM

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    นักเรียนมีความรู้ด้านอาหารปลอดภัย และผลิตภัณฑ์สุขภาพ สามารถให้คำแนะนำแก่บุคคลในครอบครัว เพื่อเลือกซื้อ ผลิตภัณฑ์สุขภาพหรืออาหารที่สะอาด ปลอดภัย ได้ถูกต้อง ส่งผลดีต่อสุขภาพต่อไป


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย
    ตัวชี้วัด : นักเรียนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพเพิ่มขึ้นร้อยละ 100
    0.00

     

    2 เพื่อให้นักเรียนสามารถตรวจคุณภาพความปลอดภัยของอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพได้ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : นักเรียนสามารถตรวจคุณภาพความปลอดภัยของอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพได้ถูกต้องร้อยละ 50 ของผู้เข้ารับการอบรม
    0.00

     

    3 มีการจัดตั้งชมรม อย.น้อยและดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ในโรงเรียน
    ตัวชี้วัด : มีชมรม อย.น้อย และมีการดำเนินกิจกรรมด้านงานคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน1 ชมรม
    0.00

     

    4 โรงเรียนเข้าร่วมโครงการ NO FOAM
    ตัวชี้วัด : โรงเรียนปลอดการใช้โฟมบรรจุอาหาร
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย (2) เพื่อให้นักเรียนสามารถตรวจคุณภาพความปลอดภัยของอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพได้ถูกต้อง (3) มีการจัดตั้งชมรม อย.น้อยและดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ในโรงเรียน (4) โรงเรียนเข้าร่วมโครงการ NO FOAM

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเยาวชนยุคใหม่ ใส่ใจ สุขภาพด้านอาหารปลอดภัย และผลิตภัณฑ์สุขภาพรพ.สต.นางเหล้า อ.สทิงพระ จ.สงขลา ปี 2562 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 62-L5238-01-07

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสมรัตน์ ขำมาก )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด