กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง


“ โครงการแก้ปัญหาสาธารณสุขมูลฐานในชุมชนโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ”

ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการแก้ปัญหาสาธารณสุขมูลฐานในชุมชนโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน

ที่อยู่ ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแก้ปัญหาสาธารณสุขมูลฐานในชุมชนโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ปัญหาสาธารณสุขมูลฐานในชุมชนโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแก้ปัญหาสาธารณสุขมูลฐานในชุมชนโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 398,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดูแลสุขภาพของประชาชน นอกจากจะเป็นบทบาทขององค์กรภาครัฐ และองค์กรเอกชนแล้ว ยังเป็นบทบาทที่สำคัญของประชาชนและชุมชน ทั้งนี้การดูแลสุขภาพของตนเองเป็นทั้งบทบาทและหน้าที่ของพลเมืองตามรัฐธรรมนูญ และแสดงถึงศักยภาพและความเข้มแข็งของชุมชนด้าน สุขภาพอีกด้วย กลยุทธ์และกิจกรรมที่ได้ดำเนินการผ่านมาที่เป็นเสมือนบทเรียน ให้ภาคีเครือข่ายสุขภาพในระดับหมู่บ้านได้เรียนรู้ในการดูแลสุขภาพด้วยชุมชนเอง ในปัจจุบันหลักการบริการด้านสุขภาพของประเทศไทย ได้มีการปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ โดยนำหลักการการพัฒนา ที่เน้นให้เกิดการสร้างสุขภาพในชุมชน และการบริหารที่เกิดจากการมีส่วนร่วมในการจัดการของภาคีมากขึ้น การดำเนินงานการถ่ายทอดความรู้สู่ชุมชน  โดยจัดให้มีกระบวนการถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง ทั้งรายบุคคล รายกลุ่ม  ในการจัดกิจกรรมด้านสาธารณสุขมูลฐานในแต่ละชุมชน โดยให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) เป็นผู้ดำเนินงานตามแผนงานสาธารณสุขมูลฐานของแต่ละชุมชน
      ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลบ่อทอง จึงได้จัดทำโครงการแก้ปัญหาสาธารณสุขมูลฐานในชุมชนโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านขึ้น เพื่อเป็นการสนับสนุนให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ได้มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนงานสาธารณสุขมูลฐาน นำไปสู่การแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) สามารถปฏิบัติงานในเชิงรุกในการส่งเสริมสุขภาพในชุมชน ตลอดจนการจัดกิจกรรมการแก้ไขปัญหาและพัฒนาสาธารณสุขของชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. 2.เพื่อสร้างกระแสการเคลื่อนไหวของประชาชนให้มีส่วนร่วมพัฒนาสุขภาพด้านสาธารณสุขของชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่1 ประชุมเตรียมความพร้อมก่อนประชาคม
  2. กิจกรรมที่2 การจัดทำประชาคม
  3. กิจกรรมที่ 3 ติดตามประเมินผลปัญหาจากการประชมคม
  4. กิจกรรมที่4 ประชุมสรุปผลการประชาคม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงานสาธารณสุขมูลฐาน
    1. สามารถนำแผนพัฒนาสาธารณสุขมูลฐาน ปีงบประมาณ 2562 มาแก้ไขปัญหาสุขภาพ ของคนในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    2. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)ได้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมงานสาธารณสุขมูลฐาน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่1 ประชุมเตรียมความพร้อมก่อนประชาคม

วันที่ 22 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นตอนที่ 1 ขั้นเตรียมการ         1.ประชุมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในชุมชน 19 ชุมชนในเขตเทศบาล
        2.ค้นหาข้อมูล รวบรวมข้อมูล  วิเคราะห์ข้อมูลและจัดลำดับความสำคัญของปัญหาสุขภาพในชุมชน 19 ชุมชน ในเขตเทศบาลโดย อสม.และเจ้าหน้าที่ รพสต.         3.อสม.19 ชุมชน ประชุมร่วมกับเจ้าหน้าที่และผู้นำชุมชนเพื่อเสนอข้อมูลและสภาพปัญหาเกี่ยวกับงานสาธารณสุข ร่วมกันพิจารณาผลกระทบของปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหา         4.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติดำเนินการและการสนับสนุนงบประมาณ         5.จัดทำแผนปฏิบัติการ ขั้นตอนที่ 2 ขั้นดำเนินการ กิจกรรมที่ 1 ประชุมประจำเดือน     -ประชุม และอบรมให้ความรู้ อสม. 19 ชุมชน เป็นจำนวน 6 ครั้ง ภายในระยะเวลา 1 เดือน กิจกรรมที่  2  การจัดทำประชาคมเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพ     -อสม.19 ชุมชน ร่วมกับเจ้าหน้าที่ รพสต. จัดทำประชาคมเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพและร่วมกันแก้ไขในชุมชน 19 ชุมชนในเขตเทศบาล
กิจกรรมที่ 3 ติดตามประเมินผลปัญหาจากการประชาคม       -ประชุมติดตามปัญหาจากการประชาคมทั้ง 19 ชุมชน ในเขตเทศบาล โดยอสม. และเจ้าหน้าที่ รพสต. ขั้นประเมินผลโครงการ       -.สรุปผลการดำเนินงานตลอดระยะเวลาดำเนินการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)  มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงานสาธารณสุขมูลฐาน
    1. สามารถนำแผนพัฒนาสาธารณสุขมูลฐาน  ปีงบประมาณ  2562 มาแก้ไขปัญหาสุขภาพ ของคนในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    2. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)ได้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมงานสาธารณสุขมูลฐาน

 

121 0

2. กิจกรรมที่2 การจัดทำประชาคม

วันที่ 22 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นตอนที่ 1 ขั้นเตรียมการ         1.ประชุมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในชุมชน 19 ชุมชนในเขตเทศบาล
        2.ค้นหาข้อมูล รวบรวมข้อมูล  วิเคราะห์ข้อมูลและจัดลำดับความสำคัญของปัญหาสุขภาพในชุมชน 19 ชุมชน ในเขตเทศบาลโดย อสม.และเจ้าหน้าที่ รพสต.         3.อสม.19 ชุมชน ประชุมร่วมกับเจ้าหน้าที่และผู้นำชุมชนเพื่อเสนอข้อมูลและสภาพปัญหาเกี่ยวกับงานสาธารณสุข ร่วมกันพิจารณาผลกระทบของปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหา         4.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติดำเนินการและการสนับสนุนงบประมาณ         5.จัดทำแผนปฏิบัติการ ขั้นตอนที่ 2 ขั้นดำเนินการ กิจกรรมที่ 1 ประชุมประจำเดือน     -ประชุม และอบรมให้ความรู้ อสม. 19 ชุมชน เป็นจำนวน 6 ครั้ง ภายในระยะเวลา 1 เดือน กิจกรรมที่  2  การจัดทำประชาคมเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพ     -อสม.19 ชุมชน ร่วมกับเจ้าหน้าที่ รพสต. จัดทำประชาคมเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพและร่วมกันแก้ไขในชุมชน 19 ชุมชนในเขตเทศบาล
กิจกรรมที่ 3 ติดตามประเมินผลปัญหาจากการประชาคม       -ประชุมติดตามปัญหาจากการประชาคมทั้ง 19 ชุมชน ในเขตเทศบาล โดยอสม. และเจ้าหน้าที่ รพสต. ขั้นประเมินผลโครงการ       -.สรุปผลการดำเนินงานตลอดระยะเวลาดำเนินการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)  มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงานสาธารณสุขมูลฐาน
    1. สามารถนำแผนพัฒนาสาธารณสุขมูลฐาน  ปีงบประมาณ  2562 มาแก้ไขปัญหาสุขภาพ ของคนในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    2. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)ได้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมงานสาธารณสุขมูลฐาน

 

0 0

3. กิจกรรมที่ 3 ติดตามประเมินผลปัญหาจากการประชมคม

วันที่ 22 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นตอนที่ 1 ขั้นเตรียมการ         1.ประชุมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในชุมชน 19 ชุมชนในเขตเทศบาล
        2.ค้นหาข้อมูล รวบรวมข้อมูล  วิเคราะห์ข้อมูลและจัดลำดับความสำคัญของปัญหาสุขภาพในชุมชน 19 ชุมชน ในเขตเทศบาลโดย อสม.และเจ้าหน้าที่ รพสต.         3.อสม.19 ชุมชน ประชุมร่วมกับเจ้าหน้าที่และผู้นำชุมชนเพื่อเสนอข้อมูลและสภาพปัญหาเกี่ยวกับงานสาธารณสุข ร่วมกันพิจารณาผลกระทบของปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหา         4.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติดำเนินการและการสนับสนุนงบประมาณ         5.จัดทำแผนปฏิบัติการ ขั้นตอนที่ 2 ขั้นดำเนินการ กิจกรรมที่ 1 ประชุมประจำเดือน     -ประชุม และอบรมให้ความรู้ อสม. 19 ชุมชน เป็นจำนวน 6 ครั้ง ภายในระยะเวลา 1 เดือน กิจกรรมที่  2  การจัดทำประชาคมเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพ     -อสม.19 ชุมชน ร่วมกับเจ้าหน้าที่ รพสต. จัดทำประชาคมเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพและร่วมกันแก้ไขในชุมชน 19 ชุมชนในเขตเทศบาล
กิจกรรมที่ 3 ติดตามประเมินผลปัญหาจากการประชาคม       -ประชุมติดตามปัญหาจากการประชาคมทั้ง 19 ชุมชน ในเขตเทศบาล โดยอสม. และเจ้าหน้าที่ รพสต. ขั้นประเมินผลโครงการ       -.สรุปผลการดำเนินงานตลอดระยะเวลาดำเนินการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)  มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงานสาธารณสุขมูลฐาน
    1. สามารถนำแผนพัฒนาสาธารณสุขมูลฐาน  ปีงบประมาณ  2562 มาแก้ไขปัญหาสุขภาพ ของคนในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    2. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)ได้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมงานสาธารณสุขมูลฐาน

 

0 0

4. กิจกรรมที่4 ประชุมสรุปผลการประชาคม

วันที่ 22 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นตอนที่ 1 ขั้นเตรียมการ         1.ประชุมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในชุมชน 19 ชุมชนในเขตเทศบาล
        2.ค้นหาข้อมูล รวบรวมข้อมูล  วิเคราะห์ข้อมูลและจัดลำดับความสำคัญของปัญหาสุขภาพในชุมชน 19 ชุมชน ในเขตเทศบาลโดย อสม.และเจ้าหน้าที่ รพสต.         3.อสม.19 ชุมชน ประชุมร่วมกับเจ้าหน้าที่และผู้นำชุมชนเพื่อเสนอข้อมูลและสภาพปัญหาเกี่ยวกับงานสาธารณสุข ร่วมกันพิจารณาผลกระทบของปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหา         4.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติดำเนินการและการสนับสนุนงบประมาณ         5.จัดทำแผนปฏิบัติการ ขั้นตอนที่ 2 ขั้นดำเนินการ กิจกรรมที่ 1 ประชุมประจำเดือน     -ประชุม และอบรมให้ความรู้ อสม. 19 ชุมชน เป็นจำนวน 6 ครั้ง ภายในระยะเวลา 1 เดือน กิจกรรมที่  2  การจัดทำประชาคมเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพ     -อสม.19 ชุมชน ร่วมกับเจ้าหน้าที่ รพสต. จัดทำประชาคมเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพและร่วมกันแก้ไขในชุมชน 19 ชุมชนในเขตเทศบาล
กิจกรรมที่ 3 ติดตามประเมินผลปัญหาจากการประชาคม       -ประชุมติดตามปัญหาจากการประชาคมทั้ง 19 ชุมชน ในเขตเทศบาล โดยอสม. และเจ้าหน้าที่ รพสต. ขั้นประเมินผลโครงการ       -.สรุปผลการดำเนินงานตลอดระยะเวลาดำเนินการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)  มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงานสาธารณสุขมูลฐาน
    1. สามารถนำแผนพัฒนาสาธารณสุขมูลฐาน  ปีงบประมาณ  2562 มาแก้ไขปัญหาสุขภาพ ของคนในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    2. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)ได้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมงานสาธารณสุขมูลฐาน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) สามารถปฏิบัติงานในเชิงรุกในการส่งเสริมสุขภาพในชุมชน ตลอดจนการจัดกิจกรรมการแก้ไขปัญหาและพัฒนาสาธารณสุขของชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2.เพื่อสร้างกระแสการเคลื่อนไหวของประชาชนให้มีส่วนร่วมพัฒนาสุขภาพด้านสาธารณสุขของชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) สามารถปฏิบัติงานในเชิงรุกในการส่งเสริมสุขภาพในชุมชน ตลอดจนการจัดกิจกรรมการแก้ไขปัญหาและพัฒนาสาธารณสุขของชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) 2.เพื่อสร้างกระแสการเคลื่อนไหวของประชาชนให้มีส่วนร่วมพัฒนาสุขภาพด้านสาธารณสุขของชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่1 ประชุมเตรียมความพร้อมก่อนประชาคม (2) กิจกรรมที่2 การจัดทำประชาคม (3) กิจกรรมที่ 3 ติดตามประเมินผลปัญหาจากการประชมคม (4) กิจกรรมที่4 ประชุมสรุปผลการประชาคม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการแก้ปัญหาสาธารณสุขมูลฐานในชุมชนโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด