กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมแบบมีส่วนร่วมของชุมชน ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองเวชกรรม เทศบาลนครยะลา ประจำปี 2562

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมแบบมีส่วนร่วมของชุมชน ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองเวชกรรม เทศบาลนครยะลา ประจำปี 2562 ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสมสกนธ์ ศิริมานนท์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมแบบมีส่วนร่วมของชุมชน ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองเวชกรรม เทศบาลนครยะลา ประจำปี 2562

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62 – L7452 – 1 – 08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 พฤษภาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมแบบมีส่วนร่วมของชุมชน ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองเวชกรรม เทศบาลนครยะลา ประจำปี 2562 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมแบบมีส่วนร่วมของชุมชน ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองเวชกรรม เทศบาลนครยะลา ประจำปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมแบบมีส่วนร่วมของชุมชน ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองเวชกรรม เทศบาลนครยะลา ประจำปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62 – L7452 – 1 – 08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 พฤษภาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันผู้สูงอายุเป็นประชากรที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากความก้าวหน้าทางการแพทย์และสาธารณสุขทำให้ประชากรมีอายุไขยืนยาวขึ้น เมื่ออายุมากขึ้นจะเกิดความเสื่อมถอยของอวัยวะต่างๆ ทำให้ผู้สูงอายุเกิดโรคได้ง่าย และมีปัญหาการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน ผู้สูงอายุมีข้อจำกัดในการทำกิจกรรมพื้นฐานประจำวัน และมีข้อจำกัดเพิ่มขึ้นตามอายุที่มากขึ้นทุกขนาดกิจกรรม โดยเฉพาะผู้สูงอายุ 80 ปีขึ้นไปมีข้อจำกัดสูงกว่าผู้สูงอายุกลุ่มอื่นๆ 5-10 เท่า ปัญหาความเสื่อมถอยของร่างกาย ทำให้ผู้สูงอายุมีปัญหาสุขภาพทางร่างกายและโรคเรื้อรังต่าง ๆ การศึกษาขนาดและแนวโน้มของประชากรสูงอายุจากสำมะโนประชากรประเทศไทยระหว่างปี พ.ศ.2503 จนถึง พ.ศ.2543 และการคาดประมาณประชากรของประเทศไทยระหว่างปี พ.ศ.2543 ถึง พ.ศ.2573 ขนาดของประชากรตั้ง แต่อายุ 60 ปีขึ้นไปเพิ่มเป็น 7 เท่าตัวคือประมาณ 7.6 ล้านคนในปี พ.ศ.2552 หรือคิดเป็นร้อยละ 11.5 ของประชากรทั้งหมด ผู้สูงอายุ 1 ใน 5 เป็นต้อกระจก โดยผู้สูงอายุหญิงเป็นต้อกระจกสูงกว่าผู้สูงอายุชาย (ชายร้อยละ 18.0 หญิงร้อยละ 23.6) เมื่อพิจารณาสัดส่วนระหว่างกลุ่มอายุพบว่า ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองโรคทาง Geriatric syndromesจำนวน 19,566 คน พบว่า ผู้สูงอายุมีภาวะเสี่ยงข้อเข่าเสื่อม จำนวน 284 คน คัดกรองต้อกระจกเบื้องต้น พบว่า เสี่ยงสูงขึ้น ทั้งในผู้สูงอายุเพศชายและหญิง (ข้อมูลการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พ.ศ.2551-2552 สำนักงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย)
จากสภาพปัญหาดังกล่าว สอดคล้องกับข้อมูลการประเมินสุขภาพผู้สูงอายุเขตเทศบาลนครยะลาปี 2561 ในเขตเทศบาลนครยะลามีผู้สูงอายุ จำนวน 6,271 คนศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองเวชกรรม เป็นศูนย์สุขภาพชุมชนเดียวที่บูรณาการงานเยี่ยมบ้านเต็มรูปแบบ จึงมีการคัดกรองและเฝ้าระวังโรคในชุมชน ครอบคลุมร้อยละ 100 และจากข้อมูลการสำรวจตามแบบข้อเข่าเสื่อมในชุมชนเขตรับผิดชอบของศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองเวชกรรม พบว่า ผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบมีจำนวน 1,084 คน เสี่ยงข้อเข่าเสื่อม 84 คน ซึ่งมีเหตุปัจจัยจากน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น ภาวะโก่งงอของขาและขาผิดรูป เป็นต้น จึงทำให้มีอาการปวดบริเวณข้อร่วมด้วย
ดังนั้นเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการขับเคลื่อนเครือข่ายด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ ซึ่งให้การดูแลผู้สูงอายุระยะยาวแบบบูรณาการ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนอย่างต่อเนื่องศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองเวชกรรม ร่วมกับกลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลยะลา จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมแบบมีส่วนร่วมของชุมชน ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองเวชกรม ประจำปี 2562 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการเฝ้าระวังภาวะข้อเข่าเสื่อม
  2. 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถเลือกรูปแบบการดูแลสุขภาพตนเองที่เหมาะสม ผ่านการเข้าฐานการเรียนรู้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมแบบมีส่วนร่วมของชุมชน” จำนวน 2 วัน เป้าหมาย ผู้สูงอายุ จำนวน 60 คน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจำนวน 10 คน รวม 70 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุมีทักษะในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ 2.ผู้สูงอายุสามารถให้การแนะนำ ช่วยเหลือการดูแลสุขภาพตนเองซึ่งกันและกันได้
3.โรงพยาบาลยะลาสามารถพัฒนาแกนนำผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเป้าหมาย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการเฝ้าระวังภาวะข้อเข่าเสื่อม
ตัวชี้วัด : 1. ค่าคะแนนความรู้ภายหลังการอบรมเพิ่มขึ้นจากก่อนการอบรม ร้อยละ 80
0.00

 

2 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถเลือกรูปแบบการดูแลสุขภาพตนเองที่เหมาะสม ผ่านการเข้าฐานการเรียนรู้
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้หลังเข้าฐานการเรียนรู้เพิ่มขึ้น 3.ร้อยละ 100 ผู้สูงอายุเข้าร่วมโครงการได้รับการประเมินโดยวิธี TUGT (Time up and go test) 4. ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการเฝ้าระวังภาวะข้อเข่าเสื่อม (2) 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถเลือกรูปแบบการดูแลสุขภาพตนเองที่เหมาะสม ผ่านการเข้าฐานการเรียนรู้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมแบบมีส่วนร่วมของชุมชน” จำนวน 2 วัน เป้าหมาย ผู้สูงอายุ จำนวน 60 คน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจำนวน 10 คน รวม 70 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมแบบมีส่วนร่วมของชุมชน ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองเวชกรรม เทศบาลนครยะลา ประจำปี 2562 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62 – L7452 – 1 – 08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสมสกนธ์ ศิริมานนท์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด