กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการครัวสีเขียว กินอยู่ปลอดภัยปีงบประมาณ2562
รหัสโครงการ 62-L5281-1-11
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนบ่อทอง
วันที่อนุมัติ 24 มิถุนายน 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2562
งบประมาณ 31,385.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายปรีดี เรืองพูน
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.871,100.144place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (31,385.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 170 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

อาหารมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพ เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ชีวิตดำรงอยู่ได้ แต่หากอาหารนั้นมีสารที่เป็นอันตรายปนเปื้อนอยู่ก็ย่อมเกิดพิษภัยแก่ผู้บริโภค ปัจจุบันอาหารสด ไม่ว่าจะเป็นผัก ผลไม้มักจะมีสารปนเปื้อนอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งเมื่อรับประทานเข้าไปแล้วอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ อาจเกิดผลทั้งในระยะสั้น ระยะยาว หรืออาจถึงกับเสียชีวิตได้  การส่งเสริมให้ประชนในชุมชนมีความรู้และตระหนักถึงพิษภัยดังกล่าวจึงเป็นสิ่งสำคัญ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนบ่อทอง ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูลตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการครัวสีเขียว กินอยู่ปลอดภัยปีงบประมาณ2562ขึ้น เพื่อเป็นการสร้างความรู้แก่ผู้บริโภคให้ตระหนักถึงความสำคัญในการเลือกบริโภคอาหารที่เหมาะสม ทั้งยังส่งเสริมให้มีการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในครัวเรือนมีการรณรงค์การปลูกพืชผักสวนครัว รั้วกินได้ในชุมชน อันจะส่งผลให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัยต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้คนในชุมชนมีความรู้เรื่องสารเคมีตกค้างในผัก ผลไม้ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการปลูกพืชผักสวนครัว รั้วกินได้

คนในชุมชนมีความรู้เพิ่มขึ้นในเรื่องสารเคมีตกค้างในผัก  ผลไม้ การปลูกพืชผัก มีการนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในครัวเรือน

0.00
2 เพื่อให้คนในชุมชนได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัย

คนในชุมชนมีการปลูกพืชผักสวนครัว  บริโภคในครัวเรือน

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 44,585.00 0 0.00
4 ก.ค. 62 - 30 ก.ย. 62 จัดอบรมให้ความรู้เรื่องสารเคมีตกค้างในผัก ผลไม้ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการปลูกพืชผักสวนครัว รั้วกินได้ (รุ่นที่ 1 จำนวน 85 คน) 0 26,400.00 -
4 ก.ค. 62 รณรงค์การปลูกผักสวนครัว รั้วกินได้ในชุมชน 0 4,985.00 -
4 ก.ค. 62 จัดอบรมให้ความรู้เรื่องสารเคมีตกค้างในผัก ผลไม้ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการปลูกพืชผักสวนครัว รั้วกินได้ (รุ่นที่ 2 จำนวน 85 คน) 0 13,200.00 -

1.ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง 2.จัดอบรมให้ความรู้เรื่องสารเคมีตกค้างในผัก ผลไม้ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการปลูกพืชผัก สวนครัวกินได้ จำนวน 2 รุ่นๆละ 85 คน รวม 170 คน 3.รณรงค์การปลูกผักสวนครัว รั้วกินได้ในชุมชน 4.ประเมินผล รายงานผลโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.คนในชุมชนมีความรู้เรื่องสารเคมีตกค้างในผัก ผลไม้ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินได้ 2.คนในชุมชนได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัย

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ก.ค. 2562 16:00 น.