กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพด้วยกิจกรรมทางกายการเต้นลีลาศเทศบาลนครยะลา ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางเนตรนภิส แก้วน้อย นายทะเบียนชมรมลีลาศ เทศบาลนครยะลา

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพด้วยกิจกรรมทางกายการเต้นลีลาศเทศบาลนครยะลา

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62 –L7452 – 2- 19 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 พฤษภาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพด้วยกิจกรรมทางกายการเต้นลีลาศเทศบาลนครยะลา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพด้วยกิจกรรมทางกายการเต้นลีลาศเทศบาลนครยะลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพด้วยกิจกรรมทางกายการเต้นลีลาศเทศบาลนครยะลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62 –L7452 – 2- 19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 พฤษภาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,130.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพอนามัยทางร่างกายและจิตใจ เป็นปัจจัยสำคัญของประชาชนในเขตเทศบาลนครยะลา ท่ามกลางความไม่สงบของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นระยะๆ การมีสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจต้องอาศัยปัจจัยหลายประการ ได้แก่ อาหาร อากาศ น้ำ การไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ และปัจจัยที่สำคัญที่สุดประการหนึ่ง สำหรับการมีสุขภาพดีก็คือ การมีร่างกายที่แข็งแรง และมีจิตใจที่แจ่มใส ส่วนหนึ่งต้องมาจากการทำกิจกรรมทางกายเป็นประจำอย่างเพียงพอและสม่ำเสมอ มีผลต่อสุขภาวะ สามารถลดอุบัติการณ์ของการเจ็บป่วย โรคเรื้อรัง เช่น ลดอุบัติการณ์โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด เบาหวาน อ้วน และมะเร็ง จากข้อมูลองค์การอนามัยโลก ประมาณว่าการไม่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอเป็นสาเหตุของโรคหัวใจเลือด ร้อยละ 22-23 โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ ร้อยละ 16-17 โรคเบาหวาน ร้อยละ 15 โรคหลอดเลือดสมอง ร้อยละ 12-13
โดยที่ ลีลาศเป็นรูปแบบกิจกรรมทางกาย ที่สามารถเป็นทั้งกีฬาและสันทนาการที่มีประโยชน์ เหมาะสมกับบุคคลทุกเพศ ทุกวัย ตั้งแต่เยาวชนถึงผู้สูงอายุ เพราะลีลาศเป็นกีฬาที่ไม่ต้องใช้กำลังมากนัก นิ่มนวล ไม่มีการกระแทกข้อต่อ และกล้ามเนื้อให้มีการบาดเจ็บ และยังช่วยสร้างเสริมสุขภาพทางกายและจิตใจตลอดถึงด้านอารมณ์ และมีบุคลิกภาพที่ดี ลีลาศช่วยเสริมสร้างเสน่ห์กับบุคคล และทำให้บุคคลมีน้ำใจเป็นนักกีฬามองโลกในด้านดี ผู้ที่ได้มีโอกาสได้ฝึกฝนเป็นนักกีฬาลีลาศ นับว่าเป็นผลดีต่อสังคม จะได้เป็นต้นแบบฝึกฝนให้ผู้สนใจต่อไป สังคมปัจจุบันจำเป็นต้องพัฒนาศักยภาพของตนเอง ให้มีบุคลิกภาพที่ดีทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม จากความสำคัญดังกล่าวจะเห็นได้ว่า การมีกิจกรรมทางกายเป็นประจำอย่างเพียงพอและสม่ำเสมอมีผลต่อสุขภาวะ สามารถลดอุบัติการณ์ของการเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง ที่สำคัญในพื้นที่เทศบาลนครยะลาพบว่า อัตราป่วยด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือดต่อประชากร (Cardiovascular disease) ในปี 2560 กลุ่มอายุ 50-59 คิดเป็นร้อยละ 1 และกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป คิดเป็น 3.70 จำนวนผู้ป่วยตายด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือด กลุ่มอายุ 50-59 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 6.38 และยังขาดข้อมูลสุขภาพทางด้านกิจกรรมทางกายในชุมชน รวมถึงความรู้ความเข้าใจ และการปฏิบัติกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม เป็นสิ่งที่ควรดำเนินการโครงการกิจกรรมทางกายเป็นอย่างยิ่งดังนั้น ชมรมลีลาศเทศบาลนครยะลา ร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา จัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพด้วยกิจกรรมทางกายการเต้นลีลาศเทศบาลนครยะลา เพื่อให้สมาชิกชมรมและผู้ที่สนใจในเขตเทศบาลนครยะลา ได้เข้าร่วมออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศ ส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง และสุขภาพจิตแจ่มใสต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะที่เกี่ยวกับการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศได้อย่างถูกต้อง
  2. ข้อที่ 2 เพื่อลดความเสี่ยงการเกิดโรคภัยไข้เจ็บด้วยโรคต่าง ๆ
  3. ข้อที่ 3 เพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกายที่เพียงพอและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมเพื่อชี้แจงและเตรียมความพร้อมในการจัดโครงการ คณะ เป้าหมาย คณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องจำนวน 20 คน
  2. กิจกรรมที่ 2 การอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องกิจกรรมทางกาย และการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศ จำนวน 1 วัน เป้าหมาย สมาชิกชมรมและผู้สนใจ จำนวน 50 คน และผู้เกี่ยวข้องจำนวน 5 คน รวมจำนวน 55 คน
  3. กิจกรรมที่ 3 การออกกำลังกายโดยการเต้นลีลาศ สัปดาห์ละ 3 วัน จำนวน 4 เดือน เป้าหมาย สมาชิกชมรมและผู้สนใจ จำนวน 50 คน
  4. กิจกรรมที่ 4 การตรวจสุขภาพเบื้องต้น และคัดกรองสุขภาวะทางจิต (ก่อนและหลังออกกำลังกาย 6 เดือน) เป้าหมาย สมาชิกชมรมและผู้สนใจ จำนวน 50 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับการออกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศที่ถูกต้อง
  2. กลุ่มเป้าหมายสามารถเป็นต้นแบบในการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศได้
  3. ทำให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงและสุขภาพจิตดีปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะที่เกี่ยวกับการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 1 ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการออกกำลังกาย
0.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อลดความเสี่ยงการเกิดโรคภัยไข้เจ็บด้วยโรคต่าง ๆ
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 2 ร้อยละ 50 กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพดี สามารถควบคุมโรคได้
0.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกายที่เพียงพอและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 3 ร้อยละ 80 ของสมาชิกทีมีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมากอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์) ข้อที่ 4 ร้อยละ 80 ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะที่เกี่ยวกับการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศได้อย่างถูกต้อง (2) ข้อที่ 2 เพื่อลดความเสี่ยงการเกิดโรคภัยไข้เจ็บด้วยโรคต่าง ๆ (3) ข้อที่ 3 เพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกายที่เพียงพอและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมเพื่อชี้แจงและเตรียมความพร้อมในการจัดโครงการ คณะ เป้าหมาย คณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องจำนวน 20 คน (2) กิจกรรมที่ 2 การอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องกิจกรรมทางกาย และการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศ จำนวน 1 วัน เป้าหมาย สมาชิกชมรมและผู้สนใจ จำนวน 50 คน และผู้เกี่ยวข้องจำนวน 5 คน  รวมจำนวน 55 คน (3) กิจกรรมที่ 3 การออกกำลังกายโดยการเต้นลีลาศ สัปดาห์ละ 3 วัน จำนวน  4 เดือน เป้าหมาย สมาชิกชมรมและผู้สนใจ จำนวน 50 คน (4) กิจกรรมที่ 4 การตรวจสุขภาพเบื้องต้น และคัดกรองสุขภาวะทางจิต (ก่อนและหลังออกกำลังกาย 6 เดือน) เป้าหมาย สมาชิกชมรมและผู้สนใจ จำนวน 50 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเสริมสุขภาพด้วยกิจกรรมทางกายการเต้นลีลาศเทศบาลนครยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62 –L7452 – 2- 19

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเนตรนภิส แก้วน้อย นายทะเบียนชมรมลีลาศ เทศบาลนครยะลา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด