กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโหนด


“ จิตอาสา เยาว์วัยใส่ใจ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ”

ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวพิมย์พา จันทร์แก้ว

ชื่อโครงการ จิตอาสา เยาว์วัยใส่ใจ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส

ที่อยู่ ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L-5258-1-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"จิตอาสา เยาว์วัยใส่ใจ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโหนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
จิตอาสา เยาว์วัยใส่ใจ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส



บทคัดย่อ

โครงการ " จิตอาสา เยาว์วัยใส่ใจ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L-5258-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 54,325.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโหนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ.2550 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ พบว่าโรคเรื้อรังที่คุกคามภาวะสุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุไทยมากที่สุด 3 อันดับแรกได้แก่ โรคความดันโลหิตสูงพบถึงร้อยละ 31.7 โรคเบาหวานร้อยละ 13.3 และโรคหัวใจร้อยละ7 ผู้สูงอายุหญิงมีสัดส่วนการเป็นโรคเรื้อรังสูงกว่าผู้ชายยกเว้นในโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต และพบว่าผู้สูงอายุที่มีอายุอยู่ในช่วง 70-79 ปี มีสัดส่วนป่วยเป็นโรคเรื้อรังสูงกว่ากลุ่มอายุ 60-69 ปีและกลุ่มอายุ 80 ปีขึ้นไปทุกโรค แต่ผู้ป่วยโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต มีแนวโน้มสูงขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น อายุ 60-69 ปี ร้อยละ 1.8 , อายุ 70-79 ปี ร้อยละ 3.1 และอายุ 80 ปีขึ้นไปร้อยละ4.8 ตามลำดับจากสถานการณ์ผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นนี้ทำให้เกิดภาระพึ่งพิงสูงมากขึ้น โดยเฉพาะผู้สูงอายุมักมีปัญหาด้านสุขภาพตามมาได้แก่ปัญหาการได้ยินและการมองเห็น การสื่อสาร การเคลื่อนไหวร่างกายและอุบัติเหตุ ปัญหาในการขบเคี้ยวอาหารและการขับถ่าย ปัญหาสภาพจิตใจ โรคสมองเสื่อม ปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังที่พบมาก 3 อันดับแรกในผู้สูงอายุได้แก่  โรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 31.7 โรคเบาหวาน ร้อยละ 13.3 และโรคหัวใจ ร้อยละ7 ( มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย,2553) นอกจากนั้นมีโรคอัมพฤกษ์/อัมพาต โรคหลอดเลือดสมองตีบ โรคมะเร็ง
      โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนากัน นั้นเป็นพื้นที่ในเขตชนบท ตั้งอยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านโหนด มีประชากรทั้งสิ้น 2,867 คน (ข้อมูลจากโปรแกรม Songkhla HDC - Data Center สาธารณสุขจังหวัดสงขลา วันที่ 1 ต.ค.61) รับผิดชอบทั้งสิ้น 4 หมู่บ้านคือ หมู่ที่ 3  หมู่ที่4 หมู่ที่ 6 และหมู่ที่ 7 ซึ่งในปีงบประมาณ 2561 ได้ทำการคัดกรองผู้สูงอายุจากแบบประเมินคัดกรองผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุที่ติดบ้าน ติดเตียงด้วยเช่นกัน โดย มีผู้สูงอายุติดบ้าน 15 ราย ซึ่งในปี 2561 จำนวนผู้พิการ 41 คน
ซึ่งการจัดทำโครงการ“จิตอาสา เยาว์วัยใส่ใจ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส” จะมุ่งเน้นการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน ติดเตียง ผู้พิการติดเตียง ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสให้ได้รับการดูแลสุขภาพที่เหมาะสม ถูกต้องและต่อเนื่อง เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้ในการดูแลผู้สูงอายุผ่านประสบการณ์จริงและได้รับความรู้ การถ่ายทอดในเรื่องต่างๆ จากผู้สูงอายุ ทำให้เกิดความภาคภูมิใจ มีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ดูแลผู้พิการ เด็กและเยาวชน ทั้งยังทำให้เด็กและเยาวชนหันมาสนใจ ใส่ใจดูแลสุขภาพ ผู้สูงอายุและบุคคลในครอบครัวเพิ่มมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ผู้สูงอายุ เยาวชน และผู้ที่ได้รับการดูแลมีความสุข และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น พร้อมทั้งสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม โดยการจัดโครงการในครั้งนี้ได้รับการสนับสนุนด้านงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านโหนด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้พิการ เด็กและเยาวชน มีความรู้และทักษะที่ถูกต้องในการดูแลผู้สูงอายุ และผู้พิการที่ติดบ้าน ติดเตียง
  2. เพื่อปลูกฝังให้เด็กและเยาวชน ที่เป็นจิตอาสาในการดูแลซึ่งจะเป็นการเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้สูงอายุกับเด็กและเยาวชน เสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในการชีวิตร่วมกันได้อย่างมีความสุข
  3. เด็ก และเยาวชน สามารถดูแลผู้ปกครอง ปู่ย่าตายาย เมื่อเจ็บป่วยระยะสุดท้ายของชีวิตให้ผู้ป่วยเสียชีวิตอย่างสมศักดิ์ความเป็นมนุษย์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ 25
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ได้รูปแบบการดูแลผู้สูงอายุบ้าน ผู้พิการติดบ้าน ติดเตียงอย่างต่อเนื่องในชุมชนที่มีความเหมาะสมกับบริบทพื้นที่
  2. มีกลไกการขับเคลื่อนกิจกรรมการดูแลผู้สูงอายุส่งเสริมสุขภาพโดยตัวผู้สูงอายุเอง
  3. วัยรุ่น เยาวชน อาสาสมัครสาธารณสุข และชุมชนอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
  4. ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ผู้พิการ ผู้ดูแลผู้สูงอายุ มีความสุข และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้พิการ เด็กและเยาวชน มีความรู้และทักษะที่ถูกต้องในการดูแลผู้สูงอายุ และผู้พิการที่ติดบ้าน ติดเตียง
ตัวชี้วัด : แบบทดสอบความรู้และทักษะผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้สูงอายุ เด็ก เยาวชน ผู้พิการ และผู้ดูแลผู้พิการ หลังประเมินอยู่ในระดับดี
0.00

 

2 เพื่อปลูกฝังให้เด็กและเยาวชน ที่เป็นจิตอาสาในการดูแลซึ่งจะเป็นการเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้สูงอายุกับเด็กและเยาวชน เสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในการชีวิตร่วมกันได้อย่างมีความสุข
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชน มีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลผู้ปกครอง ปู่ย่าตายายที่บ้านในยามเจ็บป่วยหรือนอนติดบ้าน ติดเตียง
0.00

 

3 เด็ก และเยาวชน สามารถดูแลผู้ปกครอง ปู่ย่าตายาย เมื่อเจ็บป่วยระยะสุดท้ายของชีวิตให้ผู้ป่วยเสียชีวิตอย่างสมศักดิ์ความเป็นมนุษย์
ตัวชี้วัด : เพื่อให้เด็ก และเยาวชนเข้าใจถึงการเกิด แก่ เจ็บ ตาย สามารถเผชิญปัญหา อุปสรรคที่เกิดขึ้นในอนาคต
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 145
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ 25
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้พิการ เด็กและเยาวชน มีความรู้และทักษะที่ถูกต้องในการดูแลผู้สูงอายุ และผู้พิการที่ติดบ้าน ติดเตียง (2) เพื่อปลูกฝังให้เด็กและเยาวชน ที่เป็นจิตอาสาในการดูแลซึ่งจะเป็นการเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้สูงอายุกับเด็กและเยาวชน เสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในการชีวิตร่วมกันได้อย่างมีความสุข (3) เด็ก และเยาวชน สามารถดูแลผู้ปกครอง ปู่ย่าตายาย เมื่อเจ็บป่วยระยะสุดท้ายของชีวิตให้ผู้ป่วยเสียชีวิตอย่างสมศักดิ์ความเป็นมนุษย์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


จิตอาสา เยาว์วัยใส่ใจ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L-5258-1-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวพิมย์พา จันทร์แก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด