กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา


“ โครงการห้องเรียนพันปี ตำบลนิคมพัฒนา ปี ๒๕๖๒ ”

อาคารชมรมผู้สูงอายุตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล และพื้นที่ในชุมชนหมู่ที่ 1 - 9 ตำบลนิคมพัฒนา

หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลนิคมพัฒนา

ชื่อโครงการ โครงการห้องเรียนพันปี ตำบลนิคมพัฒนา ปี ๒๕๖๒

ที่อยู่ อาคารชมรมผู้สูงอายุตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล และพื้นที่ในชุมชนหมู่ที่ 1 - 9 ตำบลนิคมพัฒนา จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มิถุนายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการห้องเรียนพันปี ตำบลนิคมพัฒนา ปี ๒๕๖๒ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อาคารชมรมผู้สูงอายุตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล และพื้นที่ในชุมชนหมู่ที่ 1 - 9 ตำบลนิคมพัฒนา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการห้องเรียนพันปี ตำบลนิคมพัฒนา ปี ๒๕๖๒



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการห้องเรียนพันปี ตำบลนิคมพัฒนา ปี ๒๕๖๒ " ดำเนินการในพื้นที่ อาคารชมรมผู้สูงอายุตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล และพื้นที่ในชุมชนหมู่ที่ 1 - 9 ตำบลนิคมพัฒนา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มิถุนายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 64,240.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หนึ่งในปัญหาสุขภาพหลักในกลุ่มคนวัยสูงอายุ คือปัญหาเรื่องการลงลืม ความจำเสื่อม หรืออาจรุนแรงมากจนเกิดภาวะอัลไซเมอร์ สมองเสื่อม ซึ่งเกิดจากหลายๆ ปัจจัยบางเรื่องเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ คือ อายุที่เพิ่มมากขึ้น การใช้ยาต่อเนื่องในกลุ่มที่มีปัญหาโรคเรื้อรังต่างๆ แต่บางปัจจัยสามารถชะอการเกิดภาวะปัญหาดังกล่าวได้ คือการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยการกระตุ้นเซลล์สมองอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันการเกิดภาวะสมองเสื่อม อัลไซเมอร์ ซึ่งอาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วยโดยไม่ทันเตรียมตัว เตรียมใจ จากสถิติของกระทรวงสาธารณสุข ปี ๒๕๕๙ พบว่ามีผู้สูงอายุป่วยเป็นอัลไซเมอร์ กว่า ๖๐๐,๐๐๐ ราย ทั้งนี้ โรคอัลไซเมอร์ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่การตรวจพบในระยะเริ่มต้นจะช่วยชะลอความเสื่อมของสมองได้อย่างมีประสิทธิภาพ จากผลการตรวจคัดกรองทดสอบสภาพสมองตามแบบทดสอบสภาพสมอง ของกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขในปี ๒๕๖๑ จากผู้สูงอายุตำบลนิคมพัฒนา ทั้งหมด จำนวน ๗๔๕ คน พบว่ามีการรู้คิดผิดปกติ จำนวน ๑๐๖ ราย คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๒๓ และได้ดำเนินการคัดกรองทดสอบภาวะสมองเสื่อมตามแบบทดสอบสภาพสมองเบื้องต้นฉบับภาษาไทย MMSE-Thai ๒๐๐๒ พบว่ามีผู้สูงอายุที่ต้องส่งต่อเพื่อตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติม จำนวน ๑๙ ราย คิดเป็นร้อยละ ๑๗.๙๒ ได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคสมองเสื่อมแล้ว จำนวน ๕ ราย ซึ่งการรักษามีแบบประคับประคองโรคทางกายและจิต การป้องกันโรคแทรกซ้อน การดูแลบำบัดด้านจิตใจและปัญหาพฤติกรรม ฟื้นฟูสุขภาพกายและจิต สร้างพฤติกรรมสุขภาพที่ดี เน้นคุณภาพชีวิต โดยให้ผู้ดูแลมีส่วนร่วม ปัจจุบันยังไม่มียาเฉพาะ มีเพียงการใช้ยาเพื่อเพิ่มระดับสารสื่อประสาทในสมองที่ช่วยเพิ่มความจำให้ดีขึ้น และลดปัญหาด้านพฤติกรรมที่เกิดจากตัวดรค สิ่งที่สำคัญคือการดูแลเอาใจใส่ผู้สูงอายุอย่างใกล้ชิด นอกจากนี้ การฝึกบริหารสมองเป็นประจำจะลดโอกาสเสี่ยงของการเกิดโรค จึงควรหากิจกรรมร่วมกัน วาดภาพ คิดเลข จะช่วยชะลอความเสื่อมของสมองได้ รวมถึงกิจกรรมการออกกำลังกายและนันทนาการเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาอารมณ์ให้มีความสุข สนุกสนาน เพลิดเพลิน คลายความเครียด ส่งผลต่อสุขภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ โดย สสส.แนะนำ "กีฬาวู๊ดบอล" ซึ่งเป็นกีฬายอดฮิตของผู้สวูงอายุ เนื่องจากเป็นกีฬาที่มีทักษะการเล่นง่ายเหมาะสมกับทุกวัย ทุกเพศ อีกทั้งยังเป็นการฝึกสมาธิให้มั่นคง มีสายตาดีในการคาดคะเนการตีลูกให้แม่นยำ และยังนำมาซึ่งความแข็งแรงของร่างกายอีกด้วย ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลนิคมพัฒนา เล็งเห็นถึงความสำคัญในการร่วมดูแลส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยสูงอายุเพื่อคงไว้ซึ่งสุขภาพกายและใจที่ดี ลดการเกิดปัญหาสุขภาพที่รุนแรง จึงได้จัดทำโครงการห้องเรียนพันปี ตำบลนิคมพัฒนา ปี ๒๕๖๒ ขึ้น เพื่อส่งเสริมการพํมนาคุภาพชีวิตและการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้สูงอายุ รวมทั้งสนับสนุนการทำกิจกรรมร่วมกัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้สูงอายุ และส่งเสริมกิจกรรมกลุ่มของผู้อายุ 2.เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้อย่างต่อเนื่องในการดูแลสุขภาพกายและจิตใจ 3.เพื่อส่งเสริมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มของผู้สูงอายุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ห้องเรียนพันปี ณ อาคารสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ นิคมพัฒนา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.มีรูปแบบการดูแลส่งเสริมสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุที่สามารถเตรยมรับสถานการณ์ผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้นไป 2.ลดอัตราการเกิดปัญหาด้านสุขภาพกายและจิตใจในกลุ่มผู้สุงอายุ 3.ผู้สูงอายุเกิดการรวมกลุ่มในการจัดกิจกรรม เพื่อช่วยเหลือผู้อื่นและชุมชน 4.ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดและชะลอการเกิดโรคและภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเกิดตามวัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ห้องเรียนพันปี ณ อาคารสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ นิคมพัฒนา

วันที่ 30 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมชี้แจง เสนอแผนแผนโครงการแก่คณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สู.อายุตำบลนิคมพัฒนา และเสนอโครงการเพื่ออนุมัติ
  2. จัดเตรียมเอกสารและวัสดุอุปกรณ์สำหรับกิจกรรมการเรียน
  3. จัดกิจกรรมการเรียนรู้สัปดาห์ละ 1 วัน ๆ ละ 6 ชั่วโมง ทักวันอังคารของเดือน โดยพัฒนาปรับใช้หลักสูตรโปรแกรม 16 สัปดาห์ เพื่อพัฒนาความสุข 5 มิติ ในผู้สูงอายุ ของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข และกิจกรรมกีฬาสีวู๊ดบอลสำหรับผู้สูงอายุมาปรับใช้
  4. ประเมินผลการเรียนรู้ทุก 2 สัปดาห์ จำนวน 5 ครั้ง ตลอดโปรแกรมการเรียนรู้
  5. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีรูปแบบการดูแล ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุที่สามารถเตรียมรับสถานการณ์ผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้นได้ ลดอัตราการเกิดปัญหาด้านสุขภาพและใจ ในกลุ่มผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุเกิดการรวมกลุ่มในการจัดกิจกรรม เพื่อช่วยเหลือผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดดและชะลอการเกิดโรคและภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเกิดตามวัย

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้สูงอายุ และส่งเสริมกิจกรรมกลุ่มของผู้อายุ 2.เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้อย่างต่อเนื่องในการดูแลสุขภาพกายและจิตใจ 3.เพื่อส่งเสริมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มของผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุ เข้าร่วมอบรมตามเกณฑ์กิจกรรมกลุ่มทั้งหมด 1 ครั้ง/สัปดาห์ 2. ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลสุขภาพกายและจิตใจได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ร้อยละ 90 (ก่อน-และหลังอบรม) 3. ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมอบรมมีคะแนนความพึงพอใจอยู่ในระดับดีขึ้นไป
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30 31
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 30 31
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้สูงอายุ และส่งเสริมกิจกรรมกลุ่มของผู้อายุ 2.เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้อย่างต่อเนื่องในการดูแลสุขภาพกายและจิตใจ 3.เพื่อส่งเสริมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มของผู้สูงอายุ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ห้องเรียนพันปี ณ อาคารสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ นิคมพัฒนา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการห้องเรียนพันปี ตำบลนิคมพัฒนา ปี ๒๕๖๒

ระยะเวลาโครงการ 3 มิถุนายน 2562 - 30 กันยายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการห้องเรียนพันปี ตำบลนิคมพัฒนา ปี ๒๕๖๒ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลนิคมพัฒนา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด