โครงการการติดตามความครอบคลุมการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน ตำบลสะเอะ ปี 2562
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการการติดตามความครอบคลุมการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน ตำบลสะเอะ ปี 2562 ”
อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน โรงพยาบาลกรงปินัง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ
สิงหาคม 2562
ชื่อโครงการ โครงการการติดตามความครอบคลุมการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน ตำบลสะเอะ ปี 2562
ที่อยู่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 62-L4114-01-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กรกฎาคม 2562 ถึง 30 สิงหาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการติดตามความครอบคลุมการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน ตำบลสะเอะ ปี 2562 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการติดตามความครอบคลุมการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน ตำบลสะเอะ ปี 2562
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการติดตามความครอบคลุมการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน ตำบลสะเอะ ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62-L4114-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กรกฎาคม 2562 - 30 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
การพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในประเทศนั้น ต้องมีพื้นฐานสุขภาพที่ดีและห่างไกลโรคภัย งานการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันในเด็ก 0-5 ปี จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งในการป้องกันโรควัณโรค คอตีบ ไอกรน บาดทะยัก ไข้สมองอักเสบ หัด หัดเยอรมัน คางทูม และโปลิโอ ซึ่งโรคดังกล่าวนี้ทำให้สุขภาพของคนในประเทศชาตินั้น เจ็บป่วยร่วมกับสูญเสียภาพลักษณ์ และความรุนแรงสูงสุดสามารถทำอันตรายต่อชีวิตได้ ดังนั้นถ้าเด็กได้รับวัคซีน 0-5 ปี ครบตามเกณฑ์ที่กระทรวงกำหนด จะสามารถป้องกันโรคดังกล่าวได้ดี ส่งผลให้คุณภาพชีวิตของบุคคลในชาติมีสุขภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจ ตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข คนไทยห่างไกลโรคภัย
จากการดำเนินงานส่งเสริมภูมิคุ้มกันโรค พบว่าเด็กที่ไม่มารับวัคซีนครบตามเกณฑ์ส่วนใหญ่จะมาจากครอบครัวไม่ให้ความสำคัญกับการรับวัคซีนของเด็ก ครอบครัวห่วงลูกหลานแบบผิด คือ กลัวลูกหลานเจ็บเมื่อมาฉีดวัคซีนโดยไม่กลัวการระบาดของโรคที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ครอบครัวมีความเข้าใจที่ผิดเกี่ยวกับการรับวัคซีน ผู้ปกครองขาดความตระหนักเกี่ยวกับการรับวัคซีน ขาดแรงจูงใจในการมารับวัคซีน และไม่มีความรู้เรื่องผลข้างเคียงของวัคซีนที่ได้รับ และจากรายงานการระบาดของโรคคอตีบในเด็กของปีที่ผ่านมาของอำเภอกรงปินังโดยในปี 2554 พบผู้ป่วยคอตีบ 2 ราย และในปี 2555 พบผู้ป่วยคอตีบ 1 รายและในปี 2557 พบผู้ป่วยคอตีบ 3 รายเสียชีวิต 1 รายและในปี 2561 มีการระบาดของโรคหัด พบผู้ป่วยโรคหัด เสียชีวิต ทั้งหมด 5 ราย จึงควรเร่งส่งเสริมป้องกันโรคดังกล่าวร่วมกับโรคอื่นที่ยังไม่มีการระบาดที่สามารถควบคุมได้ด้วยวัคซีนให้อยู่ในขอบเขตที่ควบคุมได้ดังนั้น ทางเครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอกรงปินัง จึงได้จัดทำโครงการ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนและเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนภายหลังการรับวัคซีน
ตำบลสะเอะ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา โดยเน้นการบริการเชิงรุก ร่วมกับองค์กรทุกภาคส่วนในอำเภอกรงปินัง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบ จำนวน 248 คน ได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบตามเกณฑ์ที่กำหนด
- เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
- 3.ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการดูแลภาวะแทรกซ้อนหลังการมารับวัคซีนตามเกณฑ์ เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีส่วนร่วมในการค้นหาและติดตามเด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนครบ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรม อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องแนวทางการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนให้ครอบคลุมให้กับผู้ปกครองและแกนนำสุขภาพ ตำบลสะเอะ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา
- .กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้าน เด็กที่ขาดนัดทุกเดือน เพื่อกระตุ้นติดตามวัคซีนตามเกณฑ์ที่กำหนด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
248
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรม อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องแนวทางการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนให้ครอบคลุมให้กับผู้ปกครองและแกนนำสุขภาพ ตำบลสะเอะ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา
วันที่ 14 พฤศจิกายน 2562กิจกรรมที่ทำ
จากผลการดำเนินงาน โครงการ การติดตามความครอบคลุมการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน ตำบลสะเอะ ประจำปี 2562
กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลกรงปินัง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงจัดโครงการนี้ขึ้น โดยจัดทำเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ใช้วิธีการสอนอย่างมีแบบแผน อันจะนำไปสู่บริการพยาบาลที่มีคุณภาพ โดยเน้นถึงความสำคัญของการได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ให้ครอบคลุมตามเป้าหมายและติดตามเยี่ยมบ้านเด็กที่ขาดนัดทุกเดือน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบ จำนวน 248 คน ได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบตามเกณฑ์ที่กำหนด
2.เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
3.ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการดูแลภาวะแทรกซ้อนหลังการมารับวัคซีนตามเกณฑ์
4.เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีส่วนร่วมในการค้นหาและติดตามเด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนครบ
จากผลการดำเนินงาน ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ โดยกระตุ้นให้มีการตอบคำถามและแจกรางวัลให้กับผู้ที่ตอบคำถามความครอบคลุมของวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปี ตามเกณฑ์ร้อยละ 95 ยังไม่ถึงเกณฑ์ แต่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เพื่อป้องกันโรคระบาดที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะการดูแลภาวะแทรกซ้อนหลังการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
จากผลการดำเนินกิจกรรม กลุ่มเป้าหมายให้ความสนใจในเนื้อหา เนื่องจากกระบวนการจัดกิจกรรมมีการวางแผน เพื่อให้งานบรรลุผลและประสบความสำเร็จ สามารถนำผลจากการดำเนินกิจกรรมไปประยุกต์ใช้ในโครงการอื่นๆ
248
0
2. .กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้าน เด็กที่ขาดนัดทุกเดือน เพื่อกระตุ้นติดตามวัคซีนตามเกณฑ์ที่กำหนด
วันที่ 14 พฤศจิกายน 2562กิจกรรมที่ทำ
การติดตามเยี่ยมบ้านเด็กที่ขาดนัดทุกเดือน เพื่อกระตุ้นติดตามให้มารับวัคซีนตามเกณฑ์ที่กำหนดทุกรายที่ขาดนัด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากผลการดำเนินกิจกรรม กลุ่มเป้าหมายให้ความสนใจในเนื้อหา เนื่องจากกระบวนการจัดกิจกรรมมีการวางแผน เพื่อให้งานบรรลุผลและประสบความสำเร็จ สามารถนำผลจากการดำเนินกิจกรรมไปประยุกต์ใช้ในโครงการอื่นๆ
30
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบ จำนวน 248 คน ได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบตามเกณฑ์ที่กำหนด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ปกครอง เด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนมีความรู้และเข้าใจถึงการได้รับวัคซีนในเด็ก
1.00
2
เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ได้ติดตามเยี่ยมบ้าน
1.00
3
3.ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการดูแลภาวะแทรกซ้อนหลังการมารับวัคซีนตามเกณฑ์ เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีส่วนร่วมในการค้นหาและติดตามเด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนครบ
ตัวชี้วัด :
1.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
248
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
248
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบ จำนวน 248 คน ได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบตามเกณฑ์ที่กำหนด (2) เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน (3) 3.ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการดูแลภาวะแทรกซ้อนหลังการมารับวัคซีนตามเกณฑ์ เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีส่วนร่วมในการค้นหาและติดตามเด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนครบ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องแนวทางการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนให้ครอบคลุมให้กับผู้ปกครองและแกนนำสุขภาพ ตำบลสะเอะ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา (2) .กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้าน เด็กที่ขาดนัดทุกเดือน เพื่อกระตุ้นติดตามวัคซีนตามเกณฑ์ที่กำหนด
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการการติดตามความครอบคลุมการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน ตำบลสะเอะ ปี 2562 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 62-L4114-01-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน โรงพยาบาลกรงปินัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการการติดตามความครอบคลุมการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน ตำบลสะเอะ ปี 2562 ”
อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน โรงพยาบาลกรงปินัง
สิงหาคม 2562
ที่อยู่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 62-L4114-01-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กรกฎาคม 2562 ถึง 30 สิงหาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการติดตามความครอบคลุมการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน ตำบลสะเอะ ปี 2562 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการติดตามความครอบคลุมการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน ตำบลสะเอะ ปี 2562
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการติดตามความครอบคลุมการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน ตำบลสะเอะ ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62-L4114-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กรกฎาคม 2562 - 30 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) การพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในประเทศนั้น ต้องมีพื้นฐานสุขภาพที่ดีและห่างไกลโรคภัย งานการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันในเด็ก 0-5 ปี จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งในการป้องกันโรควัณโรค คอตีบ ไอกรน บาดทะยัก ไข้สมองอักเสบ หัด หัดเยอรมัน คางทูม และโปลิโอ ซึ่งโรคดังกล่าวนี้ทำให้สุขภาพของคนในประเทศชาตินั้น เจ็บป่วยร่วมกับสูญเสียภาพลักษณ์ และความรุนแรงสูงสุดสามารถทำอันตรายต่อชีวิตได้ ดังนั้นถ้าเด็กได้รับวัคซีน 0-5 ปี ครบตามเกณฑ์ที่กระทรวงกำหนด จะสามารถป้องกันโรคดังกล่าวได้ดี ส่งผลให้คุณภาพชีวิตของบุคคลในชาติมีสุขภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจ ตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข คนไทยห่างไกลโรคภัย จากการดำเนินงานส่งเสริมภูมิคุ้มกันโรค พบว่าเด็กที่ไม่มารับวัคซีนครบตามเกณฑ์ส่วนใหญ่จะมาจากครอบครัวไม่ให้ความสำคัญกับการรับวัคซีนของเด็ก ครอบครัวห่วงลูกหลานแบบผิด คือ กลัวลูกหลานเจ็บเมื่อมาฉีดวัคซีนโดยไม่กลัวการระบาดของโรคที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ครอบครัวมีความเข้าใจที่ผิดเกี่ยวกับการรับวัคซีน ผู้ปกครองขาดความตระหนักเกี่ยวกับการรับวัคซีน ขาดแรงจูงใจในการมารับวัคซีน และไม่มีความรู้เรื่องผลข้างเคียงของวัคซีนที่ได้รับ และจากรายงานการระบาดของโรคคอตีบในเด็กของปีที่ผ่านมาของอำเภอกรงปินังโดยในปี 2554 พบผู้ป่วยคอตีบ 2 ราย และในปี 2555 พบผู้ป่วยคอตีบ 1 รายและในปี 2557 พบผู้ป่วยคอตีบ 3 รายเสียชีวิต 1 รายและในปี 2561 มีการระบาดของโรคหัด พบผู้ป่วยโรคหัด เสียชีวิต ทั้งหมด 5 ราย จึงควรเร่งส่งเสริมป้องกันโรคดังกล่าวร่วมกับโรคอื่นที่ยังไม่มีการระบาดที่สามารถควบคุมได้ด้วยวัคซีนให้อยู่ในขอบเขตที่ควบคุมได้ดังนั้น ทางเครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอกรงปินัง จึงได้จัดทำโครงการ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนและเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนภายหลังการรับวัคซีน ตำบลสะเอะ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา โดยเน้นการบริการเชิงรุก ร่วมกับองค์กรทุกภาคส่วนในอำเภอกรงปินัง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบ จำนวน 248 คน ได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบตามเกณฑ์ที่กำหนด
- เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
- 3.ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการดูแลภาวะแทรกซ้อนหลังการมารับวัคซีนตามเกณฑ์ เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีส่วนร่วมในการค้นหาและติดตามเด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนครบ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรม อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องแนวทางการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนให้ครอบคลุมให้กับผู้ปกครองและแกนนำสุขภาพ ตำบลสะเอะ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา
- .กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้าน เด็กที่ขาดนัดทุกเดือน เพื่อกระตุ้นติดตามวัคซีนตามเกณฑ์ที่กำหนด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 248 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรม อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องแนวทางการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนให้ครอบคลุมให้กับผู้ปกครองและแกนนำสุขภาพ ตำบลสะเอะ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา |
||
วันที่ 14 พฤศจิกายน 2562กิจกรรมที่ทำจากผลการดำเนินงาน โครงการ การติดตามความครอบคลุมการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน ตำบลสะเอะ ประจำปี 2562 กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลกรงปินัง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงจัดโครงการนี้ขึ้น โดยจัดทำเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ใช้วิธีการสอนอย่างมีแบบแผน อันจะนำไปสู่บริการพยาบาลที่มีคุณภาพ โดยเน้นถึงความสำคัญของการได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ให้ครอบคลุมตามเป้าหมายและติดตามเยี่ยมบ้านเด็กที่ขาดนัดทุกเดือน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบ จำนวน 248 คน ได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบตามเกณฑ์ที่กำหนด 2.เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน 3.ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการดูแลภาวะแทรกซ้อนหลังการมารับวัคซีนตามเกณฑ์ 4.เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีส่วนร่วมในการค้นหาและติดตามเด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนครบ จากผลการดำเนินงาน ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ โดยกระตุ้นให้มีการตอบคำถามและแจกรางวัลให้กับผู้ที่ตอบคำถามความครอบคลุมของวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปี ตามเกณฑ์ร้อยละ 95 ยังไม่ถึงเกณฑ์ แต่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เพื่อป้องกันโรคระบาดที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะการดูแลภาวะแทรกซ้อนหลังการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ จากผลการดำเนินกิจกรรม กลุ่มเป้าหมายให้ความสนใจในเนื้อหา เนื่องจากกระบวนการจัดกิจกรรมมีการวางแผน เพื่อให้งานบรรลุผลและประสบความสำเร็จ สามารถนำผลจากการดำเนินกิจกรรมไปประยุกต์ใช้ในโครงการอื่นๆ
|
248 | 0 |
2. .กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้าน เด็กที่ขาดนัดทุกเดือน เพื่อกระตุ้นติดตามวัคซีนตามเกณฑ์ที่กำหนด |
||
วันที่ 14 พฤศจิกายน 2562กิจกรรมที่ทำการติดตามเยี่ยมบ้านเด็กที่ขาดนัดทุกเดือน เพื่อกระตุ้นติดตามให้มารับวัคซีนตามเกณฑ์ที่กำหนดทุกรายที่ขาดนัด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากผลการดำเนินกิจกรรม กลุ่มเป้าหมายให้ความสนใจในเนื้อหา เนื่องจากกระบวนการจัดกิจกรรมมีการวางแผน เพื่อให้งานบรรลุผลและประสบความสำเร็จ สามารถนำผลจากการดำเนินกิจกรรมไปประยุกต์ใช้ในโครงการอื่นๆ
|
30 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบ จำนวน 248 คน ได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบตามเกณฑ์ที่กำหนด ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ปกครอง เด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนมีความรู้และเข้าใจถึงการได้รับวัคซีนในเด็ก |
1.00 |
|
||
2 | เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ได้ติดตามเยี่ยมบ้าน |
1.00 |
|
||
3 | 3.ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการดูแลภาวะแทรกซ้อนหลังการมารับวัคซีนตามเกณฑ์ เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีส่วนร่วมในการค้นหาและติดตามเด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนครบ ตัวชี้วัด : |
1.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 248 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 248 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบ จำนวน 248 คน ได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบตามเกณฑ์ที่กำหนด (2) เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน (3) 3.ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการดูแลภาวะแทรกซ้อนหลังการมารับวัคซีนตามเกณฑ์ เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีส่วนร่วมในการค้นหาและติดตามเด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนครบ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องแนวทางการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนให้ครอบคลุมให้กับผู้ปกครองและแกนนำสุขภาพ ตำบลสะเอะ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา (2) .กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้าน เด็กที่ขาดนัดทุกเดือน เพื่อกระตุ้นติดตามวัคซีนตามเกณฑ์ที่กำหนด
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการการติดตามความครอบคลุมการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน ตำบลสะเอะ ปี 2562 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 62-L4114-01-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน โรงพยาบาลกรงปินัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......