กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ


“ โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว ”

ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายสมภพ ทับเที่ยง

ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว

ที่อยู่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L1504-1-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2562 ถึง 30 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-L1504-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2562 - 30 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,275.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการสำรวจความเห็นวัยรุ่นไทยว่าคิดอย่างไรกับพ่อแม่ พบว่าร้อยละ 90 ยืนยันว่า “แม่” คือบุคคลที่สำคัญที่สุดในชีวิต แต่ก็ยอมรับว่าตนเองมีความลับกับแม่เรื่องความรัก และเรื่องการคบเพื่อนต่างเพศมากที่สุด ดังนั้น วัยรุ่นไทยส่วนใหญ่จึงไม่สื่อสารกับพ่อแม่ ผู้ปกครอง ทั้งที่พ่อแม่คือคนที่วัยรุ่นอยากพูดคุย ปรึกษาเมื่อมีปัญหาในเรื่องความรัก เรื่องแผนมากที่สุด อาจเพราะกลัวพ่อแม่เสียใจกับพฤติกรรมของตน กลัวถูกดุด่าว่ากล่าวหรือไม่ชอบให้นำพฤติกรรมของตนไปเปรียบเทียบกับครอบครัวอื่น หรือกระทั่งเปรียบเทียบกับสมัยที่พ่อแม่เป็นวัยรุ่นก็ตาม   ดังนั้นการส่งเสริมการสื่อสารระหว่างพ่อแม่ ผู้ปกครองกับบุตรหลานเพื่อเสริมสร้างบทบาทครอบครัวในการส่งเสริมสุขภาวะทางเพศในเยาวชน โดยมุ่งให้พ่อแม่ที่ทีลูกวัยรุ่น มีความรู้ ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดีในเรื่องเพศ และมีทักษะในการสื่อสารเรื่องเพศอย่างสร้างสรรค์ภายในครอบครัว เพราะจากผลการวิจัยพบว่าวัยรุ่นไทยส่วนใหญ่เลือก “เพื่อน” เป็นที่ปรึกษาอันดับแรกเมื่อมีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องเพศ การเลือกที่จะไม่สื่อวารกับพ่อแม่ในเรื่องเพศ เรื่องแฟน หรือเรื่องความรัก ส่งผลให้วัยรุ่นไทยมีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ และกลายเป็นกลุ่มที่เสี่ยงต่อการรับและแพร่เชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเชื้อเอชไอวี ขณะที่มีรายงานวิจัยว่าการพูดคุยเรื่องเพศในครอบครัวส่งผลต่อการชะลอการมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่น และช่วยให้วัยรุ่นได้รับข้อมูล ความรู้ที่ถูกต้องเมื่อพร้อมจะมีเพศสัมพันธ์   จึงเห็นว่าพ่อแม่คือช่องทางสำคัญในการช่วยส่งเสริม สนับสนุนการแก้ปัญหาเอดส์ในเยาวชนแต่พ่อแม่ส่วนใหญ่มักนึกไม่ถึงว่าลูกของตนมีประสบการณ์หรือมีพฤติกรรมทางเพศแล้ว ขณะเดียวกัน วิธีการสื่อสารเรื่องเพศระหว่างพ่อแม่กับลูกวัยรุ่น ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น เพราะมีการวิจับพบว่าแม้จะมีการพูดคุยกันบ่อยในครอบครัว แต่รูปแบบการพูดคุยของครอบครัวที่ลูกวัยรุ่นต้องจำยอมเห็นด้วยกับพ่อแม่ทุกเรื่องในระหว่างการพูดคุย วัยรุ่นกลุ่มนี้มีแนวโน้มที่จะเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับเรื่องเพศสูงกว่าครอบครัวที่พ่อแม่ที่เปิดโอกาสให้ลูกแสดงออกว่าไม่เห็นด้วยในบางเรื่องระหว่างการสนทนา และเมื่อเปรียบเทียบกับครอบครัวที่มีการพูดคุยอย่างตรงไปตรงมา ลูกวัยรุ่นในครอบครัวกลุ่มหลังมีแนวโน้มที่จะเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับเรื่องเพศน้อยกว่าสองกลุ่มแรก   ด้วยเหตุนี้ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนานิน จึงจัดทำโครงการ “พัฒนาการสื่อสารเรื่องเพศของผู้ปกครองต่อบุตรหลายวัยรุ่น เพื่อป้องกันโรคเอดส์และการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์” เพื่อส่งเสริมสุขภาวะทางเพศในเยาวชนอันจะนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่เด็กและเยาวชนในพื้นที่ตำบลทุ่งกระบือ และแก้ปัญหาเยาวชนท้องก่อนวัยอันควรอย่างเป็นรูปธรรม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญในการสื่อสารของพ่อแม่/ผู้ดูแลต่อบุตรหลานที่เป็นวัยรุ่น เพื่อให้ผู้ปกครองและ อสม. เป็นตัวแทนได้ร่วมแลกเปลี่ยนข้อมูลประสบการณ์และความรู้เกี่ยวกับการจัดการเรื่องเพศ เพื่อให้เกิดเครือข่ายผู้ปกครองและ อสม. แกนนำในชุมชน ที่ผ่านการสนับสนุนข้อมูล เนื้อหาและวิธีการเกี่ยวกับการสื่อสาร เรื่องเพศเพื่อป้องกันโรคเอดส์และการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ในกลุ่มวัยรุ่น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 25
    กลุ่มวัยทำงาน 25
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.พ่อแม่ ผู้ปกครองเกิดการวิเคราะห์ตนเองและสิ่งแวดล้อม และเห็นช่องว่างทางความคิดและวิถีชีวิตระหว่างคนต่างรุ่น และผลที่ตามมา 2.พ่อแม่ ผู้ปกครองเกิดทัศนะที่เปิดกว้างในเรื่องเพศวิถี และรับฟังมากขึ้น จากการได้เห็นมุมมองที่แตกต่างหลากหลาย และลดการตัดสิน คุณค่า ของแนวคิดหรือการปฏิบัติที่ต่างจากที่ตนยึดถือ 3.พ่อแม่ ผู้ปกครองเกิดทักษะการสื่อสารที่รับฟังและเรียนรู้ระหว่างกัน ระหว่างผู้ใหญ่กับวัยรุ่น และสะดวกใจที่จะพูดถึงเรื่องเพศมากกว่าเดิม 4.เกิดสัมพันธภาพที่ดีขึ้นในครอบครัวนำไปสู้การป้องกันปัญหาด้านต่างๆ ของเยาวชน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญในการสื่อสารของพ่อแม่/ผู้ดูแลต่อบุตรหลานที่เป็นวัยรุ่น เพื่อให้ผู้ปกครองและ อสม. เป็นตัวแทนได้ร่วมแลกเปลี่ยนข้อมูลประสบการณ์และความรู้เกี่ยวกับการจัดการเรื่องเพศ เพื่อให้เกิดเครือข่ายผู้ปกครองและ อสม. แกนนำในชุมชน ที่ผ่านการสนับสนุนข้อมูล เนื้อหาและวิธีการเกี่ยวกับการสื่อสาร เรื่องเพศเพื่อป้องกันโรคเอดส์และการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ในกลุ่มวัยรุ่น
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 25
    กลุ่มวัยทำงาน 25
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญในการสื่อสารของพ่อแม่/ผู้ดูแลต่อบุตรหลานที่เป็นวัยรุ่น เพื่อให้ผู้ปกครองและ อสม. เป็นตัวแทนได้ร่วมแลกเปลี่ยนข้อมูลประสบการณ์และความรู้เกี่ยวกับการจัดการเรื่องเพศ เพื่อให้เกิดเครือข่ายผู้ปกครองและ อสม. แกนนำในชุมชน ที่ผ่านการสนับสนุนข้อมูล เนื้อหาและวิธีการเกี่ยวกับการสื่อสาร เรื่องเพศเพื่อป้องกันโรคเอดส์และการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ในกลุ่มวัยรุ่น

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 62-L1504-1-07

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสมภพ ทับเที่ยง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด