โครงการอบรมฟื้นฟูความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ด้านส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมฟื้นฟูความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ด้านส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น ”
ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวรูหาณีย์ สาเหาะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน
กันยายน 2562
ชื่อโครงการ โครงการอบรมฟื้นฟูความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ด้านส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น
ที่อยู่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 62-L4123-1-15 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมฟื้นฟูความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ด้านส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมฟื้นฟูความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ด้านส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมฟื้นฟูความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ด้านส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62-L4123-1-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
มนุษย์ทุกคนล้วนเกิด แก่ เจ็บ ตาย การเจ็บไข้ได้ป่วยเกิดขึ้นได้ตลอดเวลาตั้งแต่เราเกิดมาจนแก่เฒ่าและตายไปในสมัยโบราณคนไทยได้เรียนรู้วิธีการแก้ปัญหาหรือบำบัดรักษาโรคภัยไข้เจ็บที่เกิดขึ้นโดยการลองผิดลองถูกอาจเริ่มต้นจากการบีบนวดบริเวณที่เจ็บปวดตามร่างกายแล้วสามารถทำให้ผ่อนคลายหรือหายจากความเจ็บปวดได้หรือโดยการสังเกตผลจากการกินพืช ส่วนของพืชผัก ผลไม้บางชนิด ตลอดจนสัตว์หรือส่วนของสัตว์ซึ่งทำให้บรรเทาหรือหายจากความเจ็บป่วยได้ ประสบการณ์เหล่านี้ค่อยๆถูกสะสมไว้แล้วถ่ายทอดสืบต่อกันมาจากคนรุ่นหนึ่งสู่คนอีกรุ่นหนึ่งจนมาถึงปัจจุบัน ความรู้ที่เกิดขึ้นเหล่านี้เมื่อได้ผ่านการรวบรวม วิเคราะห์ สรุป และจัดให้เป็นระบบหรือเป็นหมวดหมู่กลายเป็นระบบการแพทย์แบบดั้งเดิมของคนไทยซึ่งในสมัยก่อนเรียกกันว่า การแพทย์แผนโบราณ แต่ปัจจุบันนิยมเรียกเป็น การแพทย์แผนไทย
วิถีชีวิตของคนไทยในสมัยโบราณหรือแม้กระทั่งในสังคมปัจจุบัน บางแห่งล้วนเกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทยทั้งสิ้น สมาชิกในครอบครัวหนึ่งๆ อาจผูกพันกับการแพทย์แผนไทยตั้งแต่แรกเกิด เมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ต้องทำงานในสวนยาง สวนผลไม้ หรือแม้กระทั่งทำงานในสำนักงาน ก็มักมีอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย เช่น ปวดเอว ปวดหลัง เกิดขึ้นอยู่บ่อยๆ หากอาการไม่รุนแรงมากนัก ก็มีการดูแลรักษากันเองโดยหมอที่อยู่ในชุมชนนั้นๆ ไม่ว่าจะเป็นด้วยการนวดเพื่อให้ผ่อนคลายจากความเมื่อยล้าหรือการนวดโดยหมอนวดเพื่อบำบัดรักษาโรคหรืออาการบางอย่างโดยเฉพาะ เช่น ปวดเอวหรือการประคบด้วยลูกประคบสมุนไพรเพื่อให้ผ่อนคลายจากความปวดเมื่อยรวมทั้งการใช้ยาสมุนไพรหรือการรักษาด้วยวิธีการอื่นๆ ซึ่งอาจแตกต่างกันไปตามท้องถิ่น สิ่งเหล่านี้ล้วนจัดเป็นส่วนหนึ่งของการดูแลสุขภาพด้วยภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยทั้งสิ้น
ในปี 2558 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทรายแก้ว ได้เปิดบริการด้านการการแพทย์แผนไทย เน้นการจ่ายยาสมุนไพร การนวด/การประคบสมุนไพร และการอบไอน้ำสมุนไพร โดยในปี 2561 มีผู้รับบริการทั้งสิ้น จำนวน 75 คน ซึ่งในการให้บริการแต่ละครั้ง จำเป็นต้องใช้วัสดุต่างๆทีมีความสิ้นเปลือง เช่น ลูกประคบ และน้ำมันไพล และต้องอาศัยผู้ที่มีความรู้ ความชำนาญในการผลิตลูกประคบและน้ำมันไพล เพื่อให้การบริการมีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์สูงสุด ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทรายแก้ว ตระหนักถึงความสำคัญของของการให้บริการด้านการแพทย์แผนไทย และการส่งเสริมให้ อสม.ในพื้นที่มีความรู้ในเรื่องการแพทย์แผนไทย สามารถนำสมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชน มาใช้ให้เกิดประโยชน์ จึงได้จัดทำโครงการอบรมฟื้นฟูความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.) ด้านส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ อสม.มีความรู้ในเรื่องการใช้สมุนไพรในชุมชน เพื่อรักษาโรคเบื้องต้น
- เพื่อถ่ายทอดภูมิปัญญาเกี่ยวกับพืชสมุนไพรให้กับ อสม.
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เรื่องการใช้สมุนไพรในชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
อสม.
60
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อสม.มีความรู้เรื่องการใช้สมุนไพรที่มีในชุมชน เพื่อใช้ในการรักษาโรคเบื้องต้น และสามารถถ่ายทอดความรู้/ภูมิปัญญาเกี่ยวกับพืชสมุนไพรให้กับสมาชิกในครัวเรือนได้
- ชุมชนมีการใช้พืชสมุนไพรพื้นบ้านในการรักษาโรคเบื้องต้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ อสม.มีความรู้ในเรื่องการใช้สมุนไพรในชุมชน เพื่อรักษาโรคเบื้องต้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของ อสม.มีความรู้ความเข้าใจในการใช้สมุนไพรในชุมชน เพื่อการรักษาเบื้องต้น
0.00
2
เพื่อถ่ายทอดภูมิปัญญาเกี่ยวกับพืชสมุนไพรให้กับ อสม.
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของ อสม.มีความรู้ และสามารถถ่ายทอดภูมิปัญญาเกี่ยวกับพืชสมุนไพรให้คนในครัวเรือน
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
อสม.
60
60
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ อสม.มีความรู้ในเรื่องการใช้สมุนไพรในชุมชน เพื่อรักษาโรคเบื้องต้น (2) เพื่อถ่ายทอดภูมิปัญญาเกี่ยวกับพืชสมุนไพรให้กับ อสม.
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องการใช้สมุนไพรในชุมชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมฟื้นฟูความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ด้านส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 62-L4123-1-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวรูหาณีย์ สาเหาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมฟื้นฟูความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ด้านส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น ”
ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวรูหาณีย์ สาเหาะ
กันยายน 2562
ที่อยู่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 62-L4123-1-15 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมฟื้นฟูความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ด้านส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมฟื้นฟูความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ด้านส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมฟื้นฟูความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ด้านส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62-L4123-1-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
มนุษย์ทุกคนล้วนเกิด แก่ เจ็บ ตาย การเจ็บไข้ได้ป่วยเกิดขึ้นได้ตลอดเวลาตั้งแต่เราเกิดมาจนแก่เฒ่าและตายไปในสมัยโบราณคนไทยได้เรียนรู้วิธีการแก้ปัญหาหรือบำบัดรักษาโรคภัยไข้เจ็บที่เกิดขึ้นโดยการลองผิดลองถูกอาจเริ่มต้นจากการบีบนวดบริเวณที่เจ็บปวดตามร่างกายแล้วสามารถทำให้ผ่อนคลายหรือหายจากความเจ็บปวดได้หรือโดยการสังเกตผลจากการกินพืช ส่วนของพืชผัก ผลไม้บางชนิด ตลอดจนสัตว์หรือส่วนของสัตว์ซึ่งทำให้บรรเทาหรือหายจากความเจ็บป่วยได้ ประสบการณ์เหล่านี้ค่อยๆถูกสะสมไว้แล้วถ่ายทอดสืบต่อกันมาจากคนรุ่นหนึ่งสู่คนอีกรุ่นหนึ่งจนมาถึงปัจจุบัน ความรู้ที่เกิดขึ้นเหล่านี้เมื่อได้ผ่านการรวบรวม วิเคราะห์ สรุป และจัดให้เป็นระบบหรือเป็นหมวดหมู่กลายเป็นระบบการแพทย์แบบดั้งเดิมของคนไทยซึ่งในสมัยก่อนเรียกกันว่า การแพทย์แผนโบราณ แต่ปัจจุบันนิยมเรียกเป็น การแพทย์แผนไทย
วิถีชีวิตของคนไทยในสมัยโบราณหรือแม้กระทั่งในสังคมปัจจุบัน บางแห่งล้วนเกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทยทั้งสิ้น สมาชิกในครอบครัวหนึ่งๆ อาจผูกพันกับการแพทย์แผนไทยตั้งแต่แรกเกิด เมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ต้องทำงานในสวนยาง สวนผลไม้ หรือแม้กระทั่งทำงานในสำนักงาน ก็มักมีอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย เช่น ปวดเอว ปวดหลัง เกิดขึ้นอยู่บ่อยๆ หากอาการไม่รุนแรงมากนัก ก็มีการดูแลรักษากันเองโดยหมอที่อยู่ในชุมชนนั้นๆ ไม่ว่าจะเป็นด้วยการนวดเพื่อให้ผ่อนคลายจากความเมื่อยล้าหรือการนวดโดยหมอนวดเพื่อบำบัดรักษาโรคหรืออาการบางอย่างโดยเฉพาะ เช่น ปวดเอวหรือการประคบด้วยลูกประคบสมุนไพรเพื่อให้ผ่อนคลายจากความปวดเมื่อยรวมทั้งการใช้ยาสมุนไพรหรือการรักษาด้วยวิธีการอื่นๆ ซึ่งอาจแตกต่างกันไปตามท้องถิ่น สิ่งเหล่านี้ล้วนจัดเป็นส่วนหนึ่งของการดูแลสุขภาพด้วยภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยทั้งสิ้น
ในปี 2558 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทรายแก้ว ได้เปิดบริการด้านการการแพทย์แผนไทย เน้นการจ่ายยาสมุนไพร การนวด/การประคบสมุนไพร และการอบไอน้ำสมุนไพร โดยในปี 2561 มีผู้รับบริการทั้งสิ้น จำนวน 75 คน ซึ่งในการให้บริการแต่ละครั้ง จำเป็นต้องใช้วัสดุต่างๆทีมีความสิ้นเปลือง เช่น ลูกประคบ และน้ำมันไพล และต้องอาศัยผู้ที่มีความรู้ ความชำนาญในการผลิตลูกประคบและน้ำมันไพล เพื่อให้การบริการมีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์สูงสุด ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทรายแก้ว ตระหนักถึงความสำคัญของของการให้บริการด้านการแพทย์แผนไทย และการส่งเสริมให้ อสม.ในพื้นที่มีความรู้ในเรื่องการแพทย์แผนไทย สามารถนำสมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชน มาใช้ให้เกิดประโยชน์ จึงได้จัดทำโครงการอบรมฟื้นฟูความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.) ด้านส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ อสม.มีความรู้ในเรื่องการใช้สมุนไพรในชุมชน เพื่อรักษาโรคเบื้องต้น
- เพื่อถ่ายทอดภูมิปัญญาเกี่ยวกับพืชสมุนไพรให้กับ อสม.
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เรื่องการใช้สมุนไพรในชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
อสม. | 60 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อสม.มีความรู้เรื่องการใช้สมุนไพรที่มีในชุมชน เพื่อใช้ในการรักษาโรคเบื้องต้น และสามารถถ่ายทอดความรู้/ภูมิปัญญาเกี่ยวกับพืชสมุนไพรให้กับสมาชิกในครัวเรือนได้
- ชุมชนมีการใช้พืชสมุนไพรพื้นบ้านในการรักษาโรคเบื้องต้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ อสม.มีความรู้ในเรื่องการใช้สมุนไพรในชุมชน เพื่อรักษาโรคเบื้องต้น ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของ อสม.มีความรู้ความเข้าใจในการใช้สมุนไพรในชุมชน เพื่อการรักษาเบื้องต้น |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อถ่ายทอดภูมิปัญญาเกี่ยวกับพืชสมุนไพรให้กับ อสม. ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของ อสม.มีความรู้ และสามารถถ่ายทอดภูมิปัญญาเกี่ยวกับพืชสมุนไพรให้คนในครัวเรือน |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | 60 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
อสม. | 60 | 60 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ อสม.มีความรู้ในเรื่องการใช้สมุนไพรในชุมชน เพื่อรักษาโรคเบื้องต้น (2) เพื่อถ่ายทอดภูมิปัญญาเกี่ยวกับพืชสมุนไพรให้กับ อสม.
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องการใช้สมุนไพรในชุมชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมฟื้นฟูความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ด้านส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 62-L4123-1-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวรูหาณีย์ สาเหาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......