กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง


“ โครงการโรงเรียนปลอดลูกน้ำยุงลาย ปีงบประมาณ 2560 ”

อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางนิภาธรพงศาปาน

ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียนปลอดลูกน้ำยุงลาย ปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 010112560 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโรงเรียนปลอดลูกน้ำยุงลาย ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโรงเรียนปลอดลูกน้ำยุงลาย ปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโรงเรียนปลอดลูกน้ำยุงลาย ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 010112560 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,660.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการ ได้ร่วมดำเนินการรณรงค์เฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออก มาตั้งแต่ปีพ.ศ.2530 และดำเนินการอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน อย่างไรก็ตามสถานการณ์การเกิดโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนยังคงมีการระบาดทุกปี ซึ่งพบในกลุ่มเด็กอายุ 5-14ปี ถึงร้อยละ 70 และกลุ่มอายุ 15-19 ปี มีแนวโน้มสูงขึ้น ดังนั้นการดำเนินการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในโรงเรียน บ้าน ชุมชนของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง และก่ารกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความตระหนักรู้ถึงภัยอันตรายจากไข้เลือดออก ซึ่งส่งผลร้ายต่อสุขภาพชีวิต โดยบรรจุเนื้อหาการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกเข้าในหลักสูตรการเรียนการสอน พร้อมทั้งจัดกิจกรรมเสริมที่สำคัญคือให้นักเรียนได้สำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายที่โรงเรียน บ้าน และชุมชนทุกวันศุกร์อย่างต่อเนื่อง เป็นการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการมีส่วนร่วมของครูและนักเรียน จะส่งผลให้อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนลดลง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ครูและนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและมีความตระหนักถึงก่ารป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในโรงเรียน 2.เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนดำเนินกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายที่โรงเรียน บ้าน และชุมชนของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง 3.เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในโรงเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดอออกในโรงเรียนลดลง 2.ค่า Cl = 0 ในโรงเรียน 3.ผู้บริหารโรงเรียนตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรม

    วันที่ 17 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ๑.  ชื่อโครงการ  โครงการโรงเรียนปลอดลูกน้ำยุงลาย  ปีงบประมาณ  ๒๕๖๐

    ๒.  วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้ครูและนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและมีความตระหนักในการป้องกันการเกิด   โรคไข้เลือดออกในโรงเรียน                   ๒. เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนดำเนินกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่                       โรงเรียน บ้านและชุมชนของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง       ๓. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในโรงเรียน ๓.  งบประมาณ จากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองพัทลุง  เป็นเงิน  ๑๘,๖๖๐  บาท  ได้ใช้จ่ายงบประมาณทั้งสิ้น  ๑๑,๒๐๐  บาท  ซึ่งมีค่าใช้จ่าย  ดังนี้ ๓.๑ ค่าอาหารกลางวัน สำหรับผู้เข้าร่วมประชุม  จำนวน ๗๐ คน  จำนวน ๑  มื้อ ๆ ละ
          ๕๐ บาท  เป็นเงิน  ๓,๕๐๐  บาท ๓.๒ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมประชุม  จำนวน ๗๐ คน จำนวน ๒  มื้อ
          มื้อละ  ๒๕  บาท  เป็นเงิน  ๓,๕๐๐  บาท ๓.๓ ค่าตอบแทนวิทยากร  จำนวน ๖ ชม. ๆ ละ ๖๐๐ บาท  เป็นเงิน  ๓,๖๐๐ บาท ๓.๔ ค่าป้ายไวนิลโครงการ  จำนวน  ๑  ป้าย  เป็นเงิน  ๖๐๐  บาท                                                   รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  ๑๑,๒๐๐ บาท                 คงเหลือเงินเมื่อหักค่าใช้จ่าย  ๗,๔๖๐ บาท

    ๔.  ระยะเวลาดำเนินการ วันที่  ๑๗  สิงหาคม  ๒๕๖๐  ณ  ห้องประชุมสำนักงานเทศบาลเมืองพัทลุง ๕.  ผลการดำเนินงาน จัดประชุมให้ความรู้  คำแนะนำและแนวทางการดำเนินงานโรคไข้เลือดออกแก่ผู้บริหารโรงเรียน  และครูอนามัยโรงเรียน  ในวันที่  ๑๗  สิงหาคม  ๒๕๖๐  ณ  ห้องประชุมสำนักงานเทศบาลเมืองพัทลุง  โดยมีกิจกรรมดังนี้ ๕.๑  นายสุเมธ  บุญยก  นายกเทศมนตรีเมืองพัทลุง  เป็นประธานในพิธีเปิดการประชุม
    ๕.๒  ผู้เข้าร่วมประชุม  ประกอบด้วย  ผู้บริหารโรงเรียนและครูอนามัยโรงเรียนในเขตเทศบาลจำนวน  ๒๙  โรงเรียน  และ  เจ้าหน้าที่จากเทศบาลเมืองพัทลุง  โรงพยาบาลพัทลุง  ศูนย์แพทย์ชุมชนทั้ง  ๓  ศูนย์  จำนวน  ๗๐  คน

    ๕.๓  การอบรมครั้งนี้ได้รับการสนับสนุนวิทยากรจาก  โรงพยาบาลพัทลุงและสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง  บรรยายให้ความรู้  โดยมีเนื้อหาในการอบรม  ดังนี้
    -  สถานการณ์โรคไข้เลือดออก -  โรคไข้เลือดออกแลโรคติดต่อที่พบบ่อยในโรงเรียน -  การดำเนินงานโรคไข้เลือดออกในโรงเรียน ๖.  ข้อเสนอแนะการดำเนินงานโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนจากผู้เข้าร่วมประชุม ๖.๑  ให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขลงไปให้ความรู้แก่นักเรียนอย่างน้อยภาคเรียนละ  ๑  ครั้ง ๖.๒  มีแกนนำนักเรียนหรืออาสาสมัครนักเรียน  สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำ               ยุงลายทุกวันศุกร์  สัปดาห์ละ  ๑  ครั้ง ๖.๓  ควรมีครูผู้รับผิดชอบแต่ละอาคารเรียน ๖.๔  มีการเรียนการสอนเรื่องโรคไข้เลือดออกบูรณาการกับวิชาอื่น ๆ ๖.๕  มีแบบสำรวจลูกน้ำยุงลายให้กับนักเรียนทั้งที่โรงเรียนและบ้าน  เพื่อใช้ในการสำรวจ       แหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย  เพื่อนำมาเป็นข้อมูลในการดำเนินงานควบคุม       โรคไข้เลือดออกในโรงเรียน ๖.๖  จัด  camp  ให้ความรู้แก่นักเรียน ๖.๗  มีการตรวจติดตาม  ประเมินผล  สุ่มสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน       อย่างน้อยภาคเรียนละ  ๑  ครั้ง ๗.  แนวทางการดำเนินงานหลังการประชุม  เพื่อให้เกิดกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนในโรงเรียน  คือ ๗.๑  ประชุมคณะทำงาน  ประกอบด้วย  เจ้าหน้าที่งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ  ฝ่ายบริการสาธารณสุข  กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม  เทศบาลเมืองพัทลุง  เจ้าหน้าที่งานป้องกันควบคุมโรคและระบาดวิทยาโรงพยาบาลพัทลุง  และเจ้าหน้าที่ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ  ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์  ศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ เพื่อกำหนดกรอบแนวทางการดำเนินงานโรคไข้เลือดออก  ในโรงเรียนในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง

    ๗.๒  จัดประกวดโรงเรียนปลอดลูกน้ำยุงลาย  โดยมีคณะกรรมการลงประเมินตามเกณฑ์การประกวด ๗.๓  ติดตามประเมินผลโรงเรียนที่ได้รับการคัดเลือกเป็นโรงเรียนปลอดลูกน้ำยุงลายในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง  เดือนละ  ๑  ครั้ง  เพื่อให้มีกิจกรรมการป้องกันและควบคุม
          โรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน  เป็นโรงเรียนต้นแบบในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง  และดำเนินการให้ทุกโรงเรียนในเขตเทศบาลเมืองพัทลุงเป็นโรงเรียนปลอดลูกน้ำยุงลายอย่างถาวร

     

    70 70

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ตามรายงานบันทึกกิจกรรม

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้ครูและนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและมีความตระหนักถึงก่ารป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในโรงเรียน 2.เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนดำเนินกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายที่โรงเรียน บ้าน และชุมชนของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง 3.เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในโรงเรียน
    ตัวชี้วัด : ค่า Cl = 0 ในโรงเรียน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ครูและนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและมีความตระหนักถึงก่ารป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในโรงเรียน 2.เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนดำเนินกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายที่โรงเรียน บ้าน และชุมชนของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง 3.เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในโรงเรียน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการโรงเรียนปลอดลูกน้ำยุงลาย ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 010112560

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางนิภาธรพงศาปาน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด