กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โต๊ะเด็ง


“ โครงการโภชนาการและห่วงใยสุขภาพเด็ก ”

ตำบลโต๊ะเด็ง อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางกูนีดา เฮาะสนิ

ชื่อโครงการ โครงการโภชนาการและห่วงใยสุขภาพเด็ก

ที่อยู่ ตำบลโต๊ะเด็ง อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโภชนาการและห่วงใยสุขภาพเด็ก จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโต๊ะเด็ง อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โต๊ะเด็ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโภชนาการและห่วงใยสุขภาพเด็ก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโภชนาการและห่วงใยสุขภาพเด็ก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโต๊ะเด็ง อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,887.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โต๊ะเด็ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนและเพียงพอต่อความต้องการจะช่วยให้ร่างกายเด็กเจริญเติบโตได้เต็มศักยภาพ ผู้ปกครอง ครู ผู้ดูแลเด็ก ตลอดจน ผู้ประกอบอาหารของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จึงควรมีความรู้และให้ความสำคัญกับการเลือกโภชนาการที่เหมาะสมให้กับเด็กในวัยระหว่าง 1-6 ปี หรือวัยก่อนเรียน เด็กควรได้รับอาหารมื้อหลัก 3 มื้อ ที่มีคุณค่าครบ 5 หมู่และหลากหลาย โภชนาการดีที่ดีดูได้จากส่วนสูง น้ำหนักที่สมดุลและอยู่ในระดับปกติของกราฟการเจริญเติบโต การเฝ้าสังเกตความร่าเริง สดใส ภาวะไม่เจ็บป่วยบ่อย หรือการทุเลาจากภาวะป่วยการเสริมความเจริญเติบโตด้วยอาหารทำให้เด็กได้รับอาหารให้เพียงพอ สุขภาพอนามัยเป็นปัจจัยสําคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ของเด็กปฐมวัยเด็กนับว่าเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีความสําคัญยิ่ง ที่จะต้องเติบโตเป็นผู้ใหญ่สามารถใช้ชีวิตอย่างเท่าเทียมและอยู่ร่วมกันกับ ครูผู้ดูแลเด็ก และเพื่อนๆ อย่างสงบสุข สุขภาพกายเด็กควรจะได้รับการส่งเสริมพัฒนาการ โดยมุ่งหวังให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนาให้มีความสมบูรณ์ ทางด้านร่างกาย อารมณ์สังคม และสติปัญญา ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพเด็ก ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครอง ซึ่งควรที่จะได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ผู้ปกครองและชุมชนนับว่ามีบทบาทสําคัญยิ่งในการให้ความร่วมมือและช่วยเหลือพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ส่งเสริมให้เด็กได้รับการปลูกฝังพฤติกรรม สุขภาพ ทั้งด้านการดูแลสุขภาพตนเอง และดูแลความสะอาดของสิ่งแวดล้อม อันจะส่งผลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี อีกทั้งต้องพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพครูผู้ดูแลเด็ก ได้รับการฝึกอบรมเพิ่มพูนความรู้และทักษะด้านต่างๆ เพื่อให้สามารถ ดูแลเด็กได้ดียิ่งขึ้น ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมสนับสนุนกิจกรรม พัฒนาศูนย์เด็กเล็กอย่างต่อเนื่อง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโผลง สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลโต๊ะเด็ง ได้ทำการสำรวจพัฒนาการเด็กตามแบบฟอร์มรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ พัฒนาการฯ (ทุก 3 เดือน) โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง พบอัตราเด็กมีน้ำหนักมากกว่าเกณฑ์ จำนวน 1 คน และพบอัตรามีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 11 คน ซึ่งจากการสังเกตพบว่าเด็กดังกล่าว จะขาดความกระตือรือร้นในการเรียน และมีสุขภาพร่างกายไม่สมบูรณ์เจ็บป่วย ส่งผลทำให้ร่างกายและสมองเติบโตช้า ผลที่ตามมาคือ โรคขาดสารอาหาร ทำให้พัฒนาการและการเรียนรู้ล่าช้าด้อยตามเกณฑ์ที่อยู่ในวัยเดียวกัน และเด็กที่ขาดสารอาหารจะมีผลทำให้ภูมิต้านทานโรคต่ำ เกิดโรคแทรกซ้อนได้ง่าย เพื่อพัฒนาเด็กให้เจริญเติบโตอย่างมมีคุณภาพ ผู้ปกครองครู ผู้ดูแลเด็กและผู้ประกอบอาหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ควรความรู้ ความเข้าใจ ทักษะในการอบรมเลี้ยงดู การดูแลเอาใจใส่สุขภาพกาย สุขภาพจิต ที่ถูกต้อง ตลอดจนการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็ก เพื่อให้เด็กได้รับการส่งเสริมภาวะโภชนาการที่ดี
ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโผลง ได้เล็งเห็นและตระหนักถึงความสำคัญ ถึงสุขภาพและการเจริญเติบโตที่สมบูรณ์ของเด็ก เพื่อเด็กจะได้เติบโตสมบูรณ์เป็นประชากรที่มีคุณค่าต่อประเทศชาติ จึงได้จัดทำโครงการโภชนาการและห่วงใยสุขภาพเด็กขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้ปกครอง ครู ผู้ดูแลเด็กและผู้ประกอบอาหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน
  2. 2.เพื่อติดตามเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะเสี่ยง
  3. 3. เพื่อส่งเสริมให้เด็กก่อนวัยเรียนมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
  4. 4. เพื่อให้ ครู ผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคที่พบบ่อยในเด็กก่อนวัยเรียน สามารถดูแลรักษาและป้องกันโรคได้
  5. 5. เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของเด็กปฐมวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมให้ความรู้ ครู ผู้ดูแลเด็กผู้ปกครองและผู้ประกอบอาหาร ศพด. ในเรื่องภาวะโภชนาการและการส่งเสริมโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียน โดยเชิญเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเป็นวิทยากรในการให้ความรู้
  2. 3. กิจกรรมฝึกและปฏิบัติประกอบอาหารสำหรับเด็ก
  3. 4. กิจกรรมให้ความรู้กับผู้ปกครอง ครูและผู้ดูแลเด็กในเรื่องโรคที่พบบ่อยในเด็กก่อนวัยเรียน การดูแลรักษาสุขภาพและการป้องกันโรค โดยนักวิชาสาธารณสุขเป็นวิทยากรในการให้ความรู้
  4. 5. กิจกรรมให้ความรู้การดูแลรักษาสุขภาพเด็กปฐมวัย
  5. 6. ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน
  6. 7.สรุปรายงานผลการดำเนินงานของโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ทำให้ผู้ปกครอง ครู ผู้ดูแลเด็กและผู้ประกอบอาหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน 2. ทำให้เด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการแก้ไขปัญหาโภชนาการ 3. ทำให้เด็กก่อนวัยเรียนมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย 4. ทำให้ผู้ปกครอง ครู และผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคที่พบบ่อยในเด็กก่อนวัยเรียน สามารถดูแลรักษาและป้องกันโรคได้ 5. ทำให้ผู้ปกครอง ครู และผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการดูแลรักษาสุขภาพเด็กปฐมวัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้ปกครอง ครู ผู้ดูแลเด็กและผู้ประกอบอาหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน
ตัวชี้วัด : 1.1 ผู้ปกครอง ครู ผู้ดูแลเด็กและผู้ประกอบอาหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน
0.00

 

2 2.เพื่อติดตามเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะเสี่ยง
ตัวชี้วัด : 1.1 ครู ผู้ดูแลเด็กได้ติดตามเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะเสี่ยง
0.00

 

3 3. เพื่อส่งเสริมให้เด็กก่อนวัยเรียนมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
ตัวชี้วัด : 1 เด็กก่อนวัยเรียนมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัยได้ดี
0.00

 

4 4. เพื่อให้ ครู ผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคที่พบบ่อยในเด็กก่อนวัยเรียน สามารถดูแลรักษาและป้องกันโรคได้
ตัวชี้วัด : 4.1 ครู ผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคที่พบบ่อยในเด็กก่อนวัยเรียน สามารถดูแลรักษาและป้องกันโรคได้
0.00

 

5 5. เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : 5.1 ครูและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของเด็กปฐมวัยได้
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ปกครอง ครู ผู้ดูแลเด็กและผู้ประกอบอาหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน (2) 2.เพื่อติดตามเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะเสี่ยง (3) 3. เพื่อส่งเสริมให้เด็กก่อนวัยเรียนมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย (4) 4. เพื่อให้ ครู ผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคที่พบบ่อยในเด็กก่อนวัยเรียน สามารถดูแลรักษาและป้องกันโรคได้ (5) 5. เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของเด็กปฐมวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมให้ความรู้ ครู ผู้ดูแลเด็กผู้ปกครองและผู้ประกอบอาหาร ศพด. ในเรื่องภาวะโภชนาการและการส่งเสริมโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียน โดยเชิญเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเป็นวิทยากรในการให้ความรู้ (2)  (3) 3. กิจกรรมฝึกและปฏิบัติประกอบอาหารสำหรับเด็ก (4) 4. กิจกรรมให้ความรู้กับผู้ปกครอง ครูและผู้ดูแลเด็กในเรื่องโรคที่พบบ่อยในเด็กก่อนวัยเรียน การดูแลรักษาสุขภาพและการป้องกันโรค โดยนักวิชาสาธารณสุขเป็นวิทยากรในการให้ความรู้ (5) 5. กิจกรรมให้ความรู้การดูแลรักษาสุขภาพเด็กปฐมวัย (6) 6. ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน (7) 7.สรุปรายงานผลการดำเนินงานของโครงการ (8)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการโภชนาการและห่วงใยสุขภาพเด็ก จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกูนีดา เฮาะสนิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด