กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ


“ โครงการยิ้มสวยวัยใส บริโภคปลอดภัย ห่างไกลโรค โรงเรียนบ้านปากบารา ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล ”

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายอัดนัน อุสมา

ชื่อโครงการ โครงการยิ้มสวยวัยใส บริโภคปลอดภัย ห่างไกลโรค โรงเรียนบ้านปากบารา ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

ที่อยู่ อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5312-2-14 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2562 ถึง 30 มิถุนายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการยิ้มสวยวัยใส บริโภคปลอดภัย ห่างไกลโรค โรงเรียนบ้านปากบารา ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการยิ้มสวยวัยใส บริโภคปลอดภัย ห่างไกลโรค โรงเรียนบ้านปากบารา ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการยิ้มสวยวัยใส บริโภคปลอดภัย ห่างไกลโรค โรงเรียนบ้านปากบารา ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L5312-2-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2562 - 30 มิถุนายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 51,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล ในปัจจุบันปัญหาเด็กและเยาวชนเกิดภาวะเจ็บป่วยเนื่องจากการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ มีสารพิษตกค้าง มีสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร และปัญหาสุขอนามัยในช่องปาก ทำให้นักเรียนเจ็บป่วยบ่อยมีสภาวะทุพโภชนาการ ส่งผลให้เกิดผลกระทบต่อการมาเรียนของนักเรียน รวมถึงส่งผลเสียต่อภาครัฐในการจัดสรรงบประมาณในการดูแลรักษาผู้ป่วย ซึ่งในแต่ละปีพบว่ารัฐต้องสูญเสียงบประมาณจำนวนมากเพื่อรักษาผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าว โรงเรียนบ้านปากบาราได้ทำการสำรวจนักเรียนโดยการทำแบบสำรวจตามโครงการสุขอนามัยภายในโรงเรียน พบว่านักเรียน ร้อยละ 80 แปรงฟันวันละหนึ่งครั้งร้อยละ 20 รับประทานอาหารไม่ครบ 3 มื้อ
ร้อยละ 30 มีปัญหาสุขภาพช่องปากและฟันร้อยละ 35 รับประทานอาหารไม่ครบห้าหมู่ร้อยละ 80 ชอบทานขนมกรุบกรอบและจากการสำรวจพบว่า นักเรียนมีสภาวะขาดสารอาหาร ร้อยละ 10 และอยู่ในกลุ่มเสี่ยงต่อสภาวะโรคอ้วน ร้อยละ 15 โรงเรียนบ้านปากบาราได้เล็งเห็นถึงเหตุผลดังกล่าวจึง ได้จัดทำโครงการยิ้มสวยวัยใส บริโภคปลอดภัย ห่างไกลโรคขึ้น โดยจัดให้มีการจัดทำบันทึกการบริโภคอาหารและการแปลงฟัน เพื่อบันทึกการรับประทานอาหารและการแปลงฟันของนักเรียนแล้วนำมาประมวณผลและแก้ปัญหาของนักเรียนรายบุคคลต่อไป จัดอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนเพื่อสร้างความเข้าใจและเห็นถุึงผลดีของการเลือกบริโภคอาหารที่มีคุณค่าทางสารอาหารครบถ้วน ครบมื้อ ไม่มีสารตกค้าง สามารถปลูกผักปลอดสารพิษบริโภคทานเองภายในสถานศึกษาได้อันนำมาซึ่งสุขภาพที่แข็งแรงและปลอดภัย ทั้งนี้เพื่อกระตุ้นเตือนให้นักเรียนภายในสถานศึกษาเกิดความตระหนัก เรียนรู้ เห็นถึงผลเสียจากการบริโภคอาหารที่มีสารเคมีตกค้าง ผลเสียของการไม่ดูแลรักษาอนามัยภายในช่องปาก รู้จักการดูแลรักษาสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงเพื่อพร้อมสำหรับเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่และเป็นกำลังสำคัญของชาติต่อไปในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีผักปลอดสารเคมีไว้บริโภคในโรงเรียน
  2. เพื่อลดปัญหาโรคซึ่งเกิดจากการตกค้างจากการบริโภคผักและผลไม้
  3. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดี ห่างไกลจากโรคฟันผุ
  4. เพื่อให้นักเรียนรู้จักเลือกบริโภคอาหารให้ครบห้าหมู่
  5. 5.เพือให้นักเรียนเลือกบริโภคอาหารทีถูกสุขอนามัยและมีสุขภาพที่แข็งแรง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ยิ้มสวย วัยใส
  2. ผักปลอดสารพิษ ชีวิตปลอดภัย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 257
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนมีสุขภาพในช่องปากและสามารถดูแลได้อย่างถูกวิธีที่
  2. นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับสารเคมีที่ใช้ในการทำการเกษตรสามารถจัดทำแปลงและมีผักที่ปลูกเองปลอดสารเคมีไว้รับประทาน
  3. นักเรียนมีสุขภาพที่ดีและรู้จักเลือกบริโภคอาหารอย่างปลอดภัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีผักปลอดสารเคมีไว้บริโภคในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับสารเคมีที่ใช้ในการทำการเกษตรเพิ่มขึ้น ร้อยละ 85 2. นักเรียนสามารถจัดทำแปลงผักปลอดสารเคมีภายในโรงเรียนได้ ร้อยละ90 3. นักเรียนได้บริโภคผักที่ปลูกเองและปลอดสารเคมี ร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อลดปัญหาโรคซึ่งเกิดจากการตกค้างจากการบริโภคผักและผลไม้
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนสามารถจัดทำแปลงผักปลอดสารเคมีภายในโรงเรียนได้ ร้อยละ90 2. นักเรียนได้บริโภคผักที่ปลูกเองและปลอดสารเคมี ร้อยละ 80 3. จำนวนนักเรียนที่ป่วยจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุลักษณะและมีสารเคมีตกค้างลดลง คิดเป็นร้อยละ80
0.00

 

3 เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดี ห่างไกลจากโรคฟันผุ
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนมีสุขภาพในช่องปากที่ดีขึ้น ร้อยละ 80 2. นักเรียนสามารถดูแลรักษาสุขอนามัยภายในช่องปากได้อย่างถูกวิธีเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
0.00

 

4 เพื่อให้นักเรียนรู้จักเลือกบริโภคอาหารให้ครบห้าหมู่
ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนสามารถบอกถึงคุณประโยชน์ของการบริโภคอาหารครบห้าหมู่ได้
0.00

 

5 5.เพือให้นักเรียนเลือกบริโภคอาหารทีถูกสุขอนามัยและมีสุขภาพที่แข็งแรง
ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนสามารถบอกถึงคุณประโยชน์ของการเลือกบริโภคอาหารทีู่กสุขอนามัยได้ 2.นักเรียนมีสุขภาพที่ดีขึ้นลดอาการเจ็บป่วยเนื่องจากการบริโภคอาหารได้ ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 257
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 257
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีผักปลอดสารเคมีไว้บริโภคในโรงเรียน (2) เพื่อลดปัญหาโรคซึ่งเกิดจากการตกค้างจากการบริโภคผักและผลไม้ (3) เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดี ห่างไกลจากโรคฟันผุ (4) เพื่อให้นักเรียนรู้จักเลือกบริโภคอาหารให้ครบห้าหมู่ (5) 5.เพือให้นักเรียนเลือกบริโภคอาหารทีถูกสุขอนามัยและมีสุขภาพที่แข็งแรง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ยิ้มสวย วัยใส (2) ผักปลอดสารพิษ ชีวิตปลอดภัย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการยิ้มสวยวัยใส บริโภคปลอดภัย ห่างไกลโรค โรงเรียนบ้านปากบารา ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5312-2-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอัดนัน อุสมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด