กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน


“ โครงการเด็กควนโดนฟันดี เริ่มที่ผู้ปกครอง ”

ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายซอหมาด บาหลัง

ชื่อโครงการ โครงการเด็กควนโดนฟันดี เริ่มที่ผู้ปกครอง

ที่อยู่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L8406-01-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กรกฎาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กควนโดนฟันดี เริ่มที่ผู้ปกครอง จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กควนโดนฟันดี เริ่มที่ผู้ปกครอง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กควนโดนฟันดี เริ่มที่ผู้ปกครอง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L8406-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กรกฎาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคและความผิดปกติในช่องปากของเด็กเล็กมีหลายประการ แต่ปัญหาที่ชัดเจนที่สุดคือโรคฟันผุ ซึ่งโรคฟันผุเกิดจากแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในช่องปากร่วมกับเศษอาหารและน้ำลาย สะสมเป็นคราบขี้ฟันหรือคราบแบคทีเรีย ซึ่งมีลักษณะเหนียวเกาะติดแน่นอยู่ตามผิวฟัน ไม่สามารถหลุดออกจากการบ้วนน้ำหรือการเช็ดเพียงอย่างเดียว จำเป็นต้องแปรงฟันและใช้ไหมขัดฟันเพื่อกำจัดเชื้อโรคเหล่านี้ แบคทีเรียเหล่านี้สามารถเปลี่ยนน้ำตาลและแป้งให้เป็นกรดที่มีฤทธิ์ทำลายผิวฟันจนเกิดเป็นรูเล็กๆ เมื่อรูเล็กๆ ขยายใหญ่ขึ้น เด็กจะเริ่มมีอาการเสียวฟัน และปวดฟันได้ ประเทศไทยพบว่าโรคฟันผุในเด็กเล็กยังคงเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะเด็กในเขตชนบท ซึ่งเริ่มมีฟันผุตั้งแต่อายุ 9 เดือน และปัจจุบันพบว่าเด็กอายุ 2 ปีฟันผุมากถึงร้อยละ 52 เฉลี่ย 3 ซี่ต่อคน เด็กเป็นโรคฟันผุตั้งแต่ก่อนอายุ ๑ ขวบ และเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วมากในช่วงเด็กอายุ ๑-๓ ขวบ และการที่เด็กมีฟันผุผู้ใหญ่กลับคิดว่าเป็นเรื่องธรรมดา แต่จริงแล้วฟันผุเป็นเรื่องอันตราย เพราะเด็กมีภูมิต้านทานน้อย แม้จะไม่อันตรายถึงแก่ชีวิตแต่ก็ทำให้เด็กเจ็บปวดทรมาน เสียสุขภาพ จากการสำรวจของสำนักทันตสาธารณสุข ในปี พ.ศ. ๒๕61 พบว่าเด็กอายุ ๑ ขวบครึ่งถึง ๓ ขวบ มีผู้ปกครองแปรงฟันให้เพียงร้อยละ ๒๓ นอกจากนี้มีการศึกษาที่รายงานว่า พ่อแม่ถึงร้อยละ ๕๔ ยอมรับว่าตนเองมีปัญหาไม่สามารถแปรงฟันให้เด็กได้อย่างดีหรือไม่ได้แปรงเลย สาเหตุมีทั้งเด็กไม่ยอม แปรงไม่เป็นเพราะไม่เคยแปรง หรือไม่กล้าแปรงฟันให้เพราะกลัวเด็กเจ็บ การแปรงฟันแม้จะเป็นเรื่องชีวิตประจำวันพื้นๆ แต่มีความสำคัญมาก เพราะการแปรงฟันเป็นการรักษาสุขอนามัยช่องปากและป้องกันโรคในช่องปากได้อย่างง่าย และได้ผลดีที่สุด ผู้ปกครองควรแปรงฟันให้เด็กตั้งแต่ฟันน้ำนมซี่แรกเริ่มขึ้นและต่อเนื่องจนกว่าเด็กจะแปรงฟันได้เอง วันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น โดยใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ บีบเล็กน้อยพอชื้นที่ปลายขนแปรง จะช่วยลดโอกาสฟันผุได้ถึงร้อยละ 15-30 เพราะการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์เป็นกลวิธีการส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่สำคัญที่สุด
จากการปฏิบัติงานทางด้านทันตสาธารณสุขที่ผ่านมา พบว่าในเขตตำบลควนโดน เด็กอายุต่ำกว่า 3 ปีมีฟันผุเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยปี 2559 ถึง 2561 พบว่าเด็กในเขตตำบลควนโดนมีอัตราโรคฟันผุ ร้อยละ 40.02 ร้อยละ 41.09 และร้อยละ 45.16 ตามลำดับ และมีผู้ปกครองบางส่วนยังใช้ผ้าเช็ดทำความสะอาดฟันให้ลูก ซึ่งการใช้วิธีดังกล่าวจะทำให้เด็กฟันผุได้ง่าย เพราะฟันไม่ได้รับฟลูออไรด์ และมีเชื้อแบคทีเรียอยู่ในช่องปาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนโดน ได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงจัดทำโครงการเด็กควนโดนฟันดี เริ่มที่ผู้ปกครอง ปีงบประมาณ 2562 ขึ้น โดยมีเป้าหมายหลักคือเพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก สามารถแปรงฟันอย่างถูกวิธีให้เด็กได้ มีทัศนคติที่ดีทางด้านทันตกรรม ตลอดจนเด็กในเขตตำบลควนโดนมีอัตราฟันผุลดลง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. ผู้ปกครองมีความรู้และทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับทันตสุขภาพในเด็ก
  2. 2. ผู้ปกครองสามารถทำความสะอาดช่องปากของเด็กได้อย่างถูกต้อง
  3. 3. เพื่อลดอัตราฟันผุในเด็กก่อนปฐมวัย
  4. 4. เพื่อให้เด็กได้รับบริการทางทันตกรรม และได้เคลือบฟลูออไรด์วานิชทุกคน
  5. 5. เพื่อให้อสม.เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กก่อนปฐมวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคฟันในช่องปาก การดูแลช่องปาก และภาวะแทรกซ้อนให้แก่แกนนำอสม.ด้านทันตสาธารณสุข
  2. 2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคในช่องปาก การดูแลช่องปาก และภาวะแทรกซ้อนให้แก่ผู้ปกครองเด็ก อายุ 0 - 2 ปี รวมทั้งฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ และplaque controlจำนวน 150 คน
  3. 3. กิจกรรมเจ้าหน้าที่ออกตรวจฟันเด็กที่ได้รับการฝึกแปรงฟัน ทุก 3 เดือน เพื่อติดตามและเฝ้าระวังการเกิดโรคฟันผุในเด็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 150
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในช่องปาก และสามารถนำความรู้ที่ได้ปรับใช้ ในการดูแลสุขภาพของเด็กและคนรอบข้างได้อย่างมีคุณภาพ ตลอดจนให้ความสำคัญและมีทัศนคติที่ดีในด้านทันตกรรม
  2. แกนนำ อสม.ด้านทันตสาธารณสุข มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กก่อนปฐมวัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. ผู้ปกครองมีความรู้และทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับทันตสุขภาพในเด็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในช่องปาก
0.00

 

2 2. ผู้ปกครองสามารถทำความสะอาดช่องปากของเด็กได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ60 เด็ก 0-2 ปี ผู้ปกครองได้รับการฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ และการควบคุมแผ่นคราบจุลินทรีย์(plaque control)
0.00

 

3 3. เพื่อลดอัตราฟันผุในเด็กก่อนปฐมวัย
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 60 ของเด็กต่ำกว่า 3 ปี ได้รับบริการป้องกันฟันผุด้วยการทาฟลูออไรด์วานิช 2. ร้อยละ40 ความครอบคลุมของเด็กอายุ 18 เดือน – 2ปี11 เดือน29 วัน ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช อย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี 3. ร้อยละ60 เด็ก 0-2 ปี เคลือบ/ทา ฟลูออไรด์เฉพาะที่
0.00

 

4 4. เพื่อให้เด็กได้รับบริการทางทันตกรรม และได้เคลือบฟลูออไรด์วานิชทุกคน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 60 ของเด็กต่ำกว่า 3 ปี ได้รับบริการป้องกันฟันผุด้วยการทาฟลูออไรด์วานิช 2. ร้อยละ60 เด็ก 0-2 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก 3. ร้อยละ60 เด็ก 0-2 ปี ได้รับบริการทันตกรรม
0.00

 

5 5. เพื่อให้อสม.เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กก่อนปฐมวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 แกนนำ อสม.ด้านทันตสาธารณสุข มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กก่อนปฐมวัย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 150
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. ผู้ปกครองมีความรู้และทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับทันตสุขภาพในเด็ก (2) 2. ผู้ปกครองสามารถทำความสะอาดช่องปากของเด็กได้อย่างถูกต้อง (3) 3. เพื่อลดอัตราฟันผุในเด็กก่อนปฐมวัย (4) 4. เพื่อให้เด็กได้รับบริการทางทันตกรรม และได้เคลือบฟลูออไรด์วานิชทุกคน (5) 5. เพื่อให้อสม.เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กก่อนปฐมวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคฟันในช่องปาก การดูแลช่องปาก และภาวะแทรกซ้อนให้แก่แกนนำอสม.ด้านทันตสาธารณสุข (2) 2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคในช่องปาก การดูแลช่องปาก และภาวะแทรกซ้อนให้แก่ผู้ปกครองเด็ก  อายุ 0 - 2 ปี รวมทั้งฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ และplaque controlจำนวน 150 คน (3) 3. กิจกรรมเจ้าหน้าที่ออกตรวจฟันเด็กที่ได้รับการฝึกแปรงฟัน ทุก 3 เดือน เพื่อติดตามและเฝ้าระวังการเกิดโรคฟันผุในเด็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเด็กควนโดนฟันดี เริ่มที่ผู้ปกครอง จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L8406-01-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายซอหมาด บาหลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด