กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน


“ โครงการส่งเสริมผู้สูงวัยสุขภาพดี ชีวีมีสุข ”

ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายสอาด หมาดทิ้ง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมผู้สูงวัยสุขภาพดี ชีวีมีสุข

ที่อยู่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L8406-02-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมผู้สูงวัยสุขภาพดี ชีวีมีสุข จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมผู้สูงวัยสุขภาพดี ชีวีมีสุข



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมผู้สูงวัยสุขภาพดี ชีวีมีสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L8406-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงวัยคือ มีประชากรอายุ ๖๐ ปี คิดเป็นสัดส่วนมากกว่าร้อยละ ๑๐        ของประชากรทั้งหมด และผลสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ที่ผ่านมา พบว่าประเทศไทยมีจำนวนและสัดส่วนของผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง ข้อมูลจำนวนผู้สูงอายุจังหวัดสตูลจากการสำรวจและคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดสตูล  มีผู้สูงอายุอาศัยอยู่ในจังหวัดสตูล จำนวน ๓๒,๙๔๙ คน เมื่อเทียบกับประชากรคิดเป็นร้อยละ ๑๐.๔๙ สำหรับพื้นที่อำเภอควนโดน มีผู้สูงอายุจำนวน 2,665 คน เมื่อเทียบกับประชากรทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 13.33 ซึ่งถือว่าอำเภอควนโดนเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ จำนวนผู้สูงอายุในเขตตำบลควนโดนมีทั้งหมด 722 คน ติดสังคม 711 คน ( ร้อยละ 98.47 ) ติดบ้าน 9 คน (ร้อยละ 1.25) ติดเตียง จำนวน 2 คน (ร้อยละ 0.28)
รัฐบาล จึงให้ความสำคัญกับการที่ประเทศไทยกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยมีนโยบายมุ่งเน้นในการดูแลผู้สูงอายุเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคม ผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ มีการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุให้มีคุณภาพชีวิต ที่ดีอย่างยั่งยืน ปัญหาผู้สูงอายุ คือการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพด้วยความยากลำบาก และในการดำเนินชีวิตประจำวันต้องพึ่งพาผู้ดูแล ซึ่งบางคนขาดคนดูแลและพักอาศัยอยู่โดยลำพังในสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม มีการปฏิบัติตัวไม่เหมาะสมกับโรคที่เป็น ดังนั้นเพื่อให้เกิดความร่วมมือร่วมใจในการดูแลของชุมชนในการออกเยี่ยมดูแลสุขภาพทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาวะที่ดี สามารถดำเนินชีวิตประจำวันได้โดยพึ่งพาผู้อื่นน้อยที่สุด ซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกมีคุณค่า รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และมีความสุขในการดำเนินชีวิตต่อไป การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุและสภาพปัญหาของผู้สูงอายุจึงเป็นประเด็นสำคัญของพื้นที่ตำบลควนโดน
    ดังนั้นชมรมผู้สูงอายุตำบลควนโดนได้ตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในกลุ่มผู้สูงอายุ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมผู้สูงวัยสุขภาพดี ชีวีมีสุข ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕62

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเองทั้งด้านโภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
  2. 2. เพื่อเป็นการสร้างขวัญ และกำลังใจให้ผู้สูงอายุมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า
  3. ๓. เพื่อสร้างแกนนำด้านการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ให้มีความรู้ ทักษะในการดูแล ส่งเสริม ฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุในพื้นที่รับผิดชอบ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมสานสัมพันธ์ผู้สูงวัยและฝึกทักษะอาชีพ
  2. 2. กิจกรรมอบรมฟื้นฟูแกนนำด้านการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุในพื้นที่รับผิดชอบได้รับการดูแลสุขภาพทางกาย และจิตที่ดีสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข       2. ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมของชมรม มีการแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพตนเอง       3. ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงไม่ป่วยด้วยโรคหรือได้รับอุบัติเหตุที่เกิดจากการปฏิบัติตนที่ไม่ถูกต้อง       4. แกนนำมีส่วนร่วมในการดูแล ส่งเสริม ฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเองทั้งด้านโภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุได้รับ การพัฒนาทักษะทางกายและใจ มากกว่า ร้อยละ 80
0.00

 

2 2. เพื่อเป็นการสร้างขวัญ และกำลังใจให้ผู้สูงอายุมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30
0.00

 

3 ๓. เพื่อสร้างแกนนำด้านการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ให้มีความรู้ ทักษะในการดูแล ส่งเสริม ฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุในพื้นที่รับผิดชอบ
ตัวชี้วัด : จำนวนของผู้สูงอายุที่ ติดบ้าน ติดเตียงได้รับการเยี่ยมบ้านและดูแลตามเกณฑ์ มากกว่าร้อยละ 90
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเองทั้งด้านโภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ (2) 2. เพื่อเป็นการสร้างขวัญ และกำลังใจให้ผู้สูงอายุมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า (3) ๓. เพื่อสร้างแกนนำด้านการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ  ให้มีความรู้ ทักษะในการดูแล ส่งเสริม ฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุในพื้นที่รับผิดชอบ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมสานสัมพันธ์ผู้สูงวัยและฝึกทักษะอาชีพ (2) 2. กิจกรรมอบรมฟื้นฟูแกนนำด้านการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมผู้สูงวัยสุขภาพดี ชีวีมีสุข จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L8406-02-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสอาด หมาดทิ้ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด