กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน


“ โครงการรวมพลังเด็กเยาวชนต้านภัยยาเสพติด ”

ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายเจ๊ะอิสมาแอล ปะดุกา

ชื่อโครงการ โครงการรวมพลังเด็กเยาวชนต้านภัยยาเสพติด

ที่อยู่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L8406-02-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรวมพลังเด็กเยาวชนต้านภัยยาเสพติด จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมพลังเด็กเยาวชนต้านภัยยาเสพติด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรวมพลังเด็กเยาวชนต้านภัยยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L8406-02-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ยาเสพติดเป็นปัญหาสำคัญระดับชาติ ที่รัฐบาลถือเป็นนโยบายที่ต้องเร่งดำเนินการแก้ไขอย่าง จริงจัง ทั้งนี้เพราะปัญหายาเสพติดที่มีการแพร่ระบาดในทุกพื้นที่ของประเทศไทยและทวีความรุนแรงมากขึ้น ทุกขณะ ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม การเมือง และความมั่นคง ของประเทศและ ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550 ที่มุ่งเน้นการส่งเสริม การพัฒนาเด็กและเยาวชนให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพสังคมในปัจจุบัน รวมทั้งในองค์กรเอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็กและเยาวชน เพื่อให้เด็กเติบโตเป็นกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ
      จากการสำรวจสถานการณ์แนวโน้มปัญหายาเสพติดในประเทศไทย ของสำนักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ปปส.) พบว่า สถานการณ์ปัญหายาเสพติดยังคงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยประมาณการว่าจะมีผู้ต้องหาที่ถูกจับกุมเพิ่ม 260,000 คน และมีผู้เข้ารับการบำบัดรักษาประมาณ 120,000 คน และจากการเปรียบเทียบระหว่างปี 25๖๑ จับกุมผู้ต้องหาคดียาเสพติดได้ 150,160 คน เพิ่มจากปี 25๖๐ จับกุมผู้ต้องหา ได้ 117,071 คน หมายความว่าแนวโน้มด้านผู้ติดยาเสพติด และถูกจับกุมดำเนินคดีในแต่ละปี เพิ่มขึ้นเป็นเรื่อยๆ อย่างไม่มีทีท่าจะลดลงได้อย่างง่ายดาย เมื่อมองถึงรายงานของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ที่ทำการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับสถานการณ์การแพร่ระบาดยาเสพติด ในเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา เนื่องในวันต่อต้านยาเสพติดโลก 26 มิถุนายน 25๖๑ ก็พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ระบุว่าปัญหายาเสพติดยังคงแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่อง โดยประชาชนร้อยละ 37.5 เห็นว่ายังมีปัญหาการแพร่ระบาดยาเสพติดในชุมชน/หมู่บ้าน เพิ่มขึ้น ที่น่าสนใจคือ จากการสำรวจพบว่า กลุ่มที่น่าเป็นห่วงคือ กลุ่มเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 24 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มหลักที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับยาเสพติดมากที่สุด ทางคณะกรรมการมัสยิดฟัตหุเร๊าะห์มาน หมู่ที่ ๙ บ้านนาปริก ได้ดำเนินการพัฒนาศาสนสถานเป็นศูนย์เรียนรู้ระบบสุขภาพตามวิถีชุมชน ได้เล็งเห็นความสำคัญในการแก้ไขปัญหาและต่อยอดกิจกรรมของมัสยิด ซึ่งทางมัสยิดได้จัดระบบการเรียนการสอนมีนักเรียนตาดีกาในความดูแล ซึ่งนักเรียนเหล่านี้ล้วนเป็นรากฐานสำคัญของชุมชนในอนาคต แต่จากการเปลี่ยนแปลงตามกระแสการพัฒนา ที่เน้นด้านเศรษฐกิจ วัตถุนิยม และบริโภคนิยม ส่งผลกระทบต่อสังคมและวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของเด็กและเยาวชนในพื้นที่ ในบางคนพ่อ/แม่ ทำงานหนัก ไม่มีเวลาเลี้ยงดูลูก หรือเลี้ยงดูในแบบ ที่ไม่เหมาะสม ส่งผลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพของเด็กและเยาวชน การปรับตัวเข้ากับสังคมหรือสิ่งแวดล้อมประกอบกับสื่อที่มีอิทธิพลอย่างกว้างขวางที่มิได้สำนึกถึงผลที่ตามมาจากการเผยแพร่ข่าวสารข้อมูล ที่กระตุ้นยั่วยุ หรือส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนกลายเป็นนักบริโภคแฟชั่น ก่อให้เกิดปัญหาเด็กติดเกมส์ การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร การเสพยาเสพติด การเล่นการพนัน ความรุนแรงและการทำร้ายร่างกายซึ่งกันและกัน เป็นต้น จากปัญหาดังกล่าวฯทางคณะกรรมการมัสยิด จึงได้จัดทำโครงการ รวมพลังเด็กและเยาวชนต้านภัยยาเสพติด ขึ้น เพื่อคาดหวังให้กลุ่มเป้าหมาย ได้มีทักษะชีวิต รู้เท่าทันภัยยาเสพติด เพื่อส่งผลโดยภาพรวมของการแก้ไขปัญหาอื่นๆร่วมด้วย และจัดตั้งกลุ่มในการทำความดี เพื่อตอบแทนคุณบ้านเกิด เสริมความมีคุณค่า และการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจและปลูกจิตสำนึกให้แก่เด็กและเยาวชน ตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย สุขภาพอนามัย และส่งผลกระทบต่อปัญหา ครอบครัว สังคม ตลอดจนความมั่นคงของชาติ
  2. (2) เพื่อสร้างแกนนำเด็กและเยาวชน ต่อต้านยาเสพติดในชุมชนและครอบครัว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ๑. จัดทำโครงการเสนอคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพอบต. ควนโดน เพื่อพิจารณาอนุมัติ
  2. ๒. ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้องในการดำเนินโครงการ
  3. ๔.จัดประชุมเชิงปฏิบัติการด้านการให้ความรู้ ทักษะจำนวน ๒ วัน
  4. จัดกลุ่มเรียนรู้ฐานชุมชน จำนวน ๕ กลุ่ม และฝึกกิจกรรมโดยใช้ภูมิปัญญาชุมชน จำนวน 1 วัน
  5. ๓. จัดซื้อ จัดหา จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ที่จำเป็นตามโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ กลุ่มเด็กและเยาวชนที่เข้า ร่วมโครงการ ได้มีทักษะชีวิต รู้เท่าทันภัยยาเสพติด เพื่อส่งผลโดยภาพรวมของการ แก้ไขปัญหาอื่นๆร่วมด้วย และจัดตั้งกลุ่มในการทำความดี เพื่อตอบแทนคุณบ้านเกิด เสริมความมีคุณค่า และการ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจและปลูกจิตสำนึกให้แก่เด็กและเยาวชน ตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย สุขภาพอนามัย และส่งผลกระทบต่อปัญหา ครอบครัว สังคม ตลอดจนความมั่นคงของชาติ
ตัวชี้วัด : -เด็กและเยาวชนมีความรู้ ทักษะ พิษภัยยาเสพติด ร้อยละ ๙๐
0.00

 

2 (2) เพื่อสร้างแกนนำเด็กและเยาวชน ต่อต้านยาเสพติดในชุมชนและครอบครัว
ตัวชี้วัด : มีกลุ่มแกนนำเด็กและเยาวชน จำนวน ๕ กลุ่ม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจและปลูกจิตสำนึกให้แก่เด็กและเยาวชน ตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย สุขภาพอนามัย และส่งผลกระทบต่อปัญหา ครอบครัว สังคม ตลอดจนความมั่นคงของชาติ (2) (2) เพื่อสร้างแกนนำเด็กและเยาวชน ต่อต้านยาเสพติดในชุมชนและครอบครัว

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑. จัดทำโครงการเสนอคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพอบต. ควนโดน  เพื่อพิจารณาอนุมัติ (2) ๒. ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้องในการดำเนินโครงการ (3) ๔.จัดประชุมเชิงปฏิบัติการด้านการให้ความรู้ ทักษะจำนวน ๒ วัน (4) จัดกลุ่มเรียนรู้ฐานชุมชน  จำนวน ๕ กลุ่ม และฝึกกิจกรรมโดยใช้ภูมิปัญญาชุมชน  จำนวน 1 วัน (5) ๓. จัดซื้อ จัดหา จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ที่จำเป็นตามโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรวมพลังเด็กเยาวชนต้านภัยยาเสพติด จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L8406-02-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเจ๊ะอิสมาแอล ปะดุกา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด