กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง


“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรียและโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลกาบัง 2562 ”

ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
เงินนอกงบประมาณโรงพยาบาลกาบัง

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรียและโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลกาบัง 2562

ที่อยู่ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรียและโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลกาบัง 2562 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรียและโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลกาบัง 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรียและโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลกาบัง 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 48,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาโรคและภัยสุขภาพที่ยังคงมีความสำคัญในระดับประเทศ ได้แก่ โรคติดต่อ ซึ่งมีทั้งโรคติดต่อนาโดยแมลง โรคติดต่อทางระบบทางเดินหายใจ โรคติดต่อระบบทางเดินอาหารและน้ำ โรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน เป็นต้น จากสถานการณ์โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังควบคุมป้องกันด้วยโรคไข้เลือดออกระดับประเทศ ข้อมูล ณ วันที่ 25 มิถุนายน 2562 มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสะสมรวม 35,482 ราย อัตราป่วย 53.72 ต่อประชากรแสนคน มีผู้ป่วยเสียชีวิต 54 ราย โรคไข้เลือดออกในพื้นที่จังหวัดยะลา ในปี พ.ศ.2562 พบว่า ข้อมูล ณ วันที่ 25 มิถุนายน 2562 จังหวัดยะลาอยู่ลำดับที่ 7 ของประเทศไทย และอยู่ลำดับที่ 1 ของเขต 12 จำนวนผู้ป่วยทั้งสิ้น 468 ราย อัตราป่วยเท่ากับ 89.18 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีผู้เสียชีวิต
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกของพื้นที่อำเภอกาบังในปี พ.ศ. 2562 พบว่า มูล ณ วันที่ 25 มิถุนายน 2562 อำเภอกาบังอยู่ลำดับที่ 6 ของจังหวัดยะลา มีจำนวนผู้ป่วยทั้งสิ้น 9 ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 37.45 ต่อประชากรแสนคน และเขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลกาบัง หมู่ที่ 4 , 5 และ 7 มีจำนวนผู้ป่วยทั้งสิ้น 1 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 23.67 ต่อประชากรแสนคน สถานการณ์โรคไข้มาลาเรียของพื้นที่อำเภอกาบังในปี พ.ศ. 2562 ข้อมูล ณ เดือนมิถุนายน 2562 จำนวนผู้ป่วย 49 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 208.10 ต่อประชากรแสนคน ตำบลกาบังมีจำนวนผู้ป่วยทั้งสิ้น 6 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 44.40 ต่อประชากรแสนคน และเขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลกาบัง หมู่ที่ 4 , 5 และ 7 มีจำนวนผู้ป่วยทั้งสิ้น 3 ราย คิดเป็นอัตราป่วย
แนวโน้มการระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคไข้มาลาเรียมีเกิดการระบาดอยู่ทุกๆปี และในปี พ.ศ.2562 จะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตามพยากรณ์การระบาด ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการดำเนินงานควบคุมป้องกันการระบาดเพิ่มมากขึ้น และเป็นการพัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (Surveillance and rapid response Team: SRRT) ในเรื่องของการเฝ้าระวังเหตุการณ์ผิดปกติ เป็นกลไกหนึ่งที่ในการจัดการกับปัญหาการเกิดโรค ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข หรือภัยคุกคามสุขภาพมีผลกระทบทางสุขภาพการเจ็บป่วย และเสียชีวิต สามารถรู้เหตุการณ์ของโรคได้อย่างรวดเร็ว และตอบสนองต่อปัญหาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ซึ่งต้องได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เครือข่ายภาคประชาชน อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นาชุมชน ดังนั้น กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน โรงพยาบาลกาบัง จึงได้จัดทำเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรียและโรคไข้เลือดออกในพื้นที่หมู่ที่ 4, 5 และหมู่ที่ 7 ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา ปี 2562 เพื่อเตรียมความพร้อมรับมือของโรคไข้มาลาเรียและโรคไข้เลือดออก เพื่อลดอัตราป่วย ดังแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นตามพยากรณ์การระบาดอาจเกิดขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรียและโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลกาบัง 2562

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกัน เฝ้าระวังโรคนำโดยแมลง
  2. ไม่มีผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรียและไข้เลือดออกเกิดใน generation 2
  3. ผู้ป่วยลดลงจากปีที่ผ่านมา

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรียและโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลกาบัง 2562

วันที่ 22 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

2.1 เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณ
2.2 ประชาสัมพันธ์โครงการ
2.3 จัดอบรมประชาชนทั่วไปเกี่ยวกับการเฝ้าระวังโรคนำโดยแมลง 2.4 ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย 2.5 พ่นหมอกควันบ้านผู้ป่วยและรัศมีร้อยเมตร 2.6 พ่นสารเคมีตกค้าง ในพื้นที่ที่มีการระบาดโรคไข้มาลาเรีย A1A2 2.7 เจาะค้นหาผู้ป่วยไข้มาลาเรีย 2.8 ติดตามประเมินผลและสรุปผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต 1 เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ ในการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคและมีส่วนร่วมในการดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรคนำโดยแมลง 2 ไม่มีผู้ป่วยโรคนำโดยแมลงเกิดใน generation 2 3 ผู้ป่วยลดลงจากปีที่ผ่านมา ผลลัพธ์ 1 ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกัน เฝ้าระวังโรคนำโดยแมลง 2 ไม่มีผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรียและไข้เลือดออกเกิดใน generation 2 3 ผู้ป่วยลดลงจากปีที่ผ่านมา

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรียและโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลกาบัง 2562

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรียและโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลกาบัง 2562 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( เงินนอกงบประมาณโรงพยาบาลกาบัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด