กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการโภชนาการดี เริ่มที่บ้าน
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
วันที่อนุมัติ 1 กรกฎาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2562 - 30 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2562
งบประมาณ 34,400.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ เงินนอกงบประมาณโรงพยาบาลกาบัง
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวซัลมา หะยีสะมะแอ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 90 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ภาวะโภชนาการ-พัฒนาการในเด็กช่วงอายุ 0-5 ปี เป็นช่วงที่มีอัตราของการพัฒนาสูง ด้วยเหตุนี้ พ่อแม่ ผู้ปกครอง ผู้เลี้ยงดูเด็ก รวมถึง อสม.ในพื้นที่ ต้องมีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญให้มากจึงจะช่วยส่งเสริมให้เด็กได้รับการพัฒนาได้เต็มตามศักยภาพ จาการติดตามประเมินโภชนาการและพัฒนาการ ในพื้นที่ ม.4 ม.5 ม.7 อ.กาบัง จ.ยะลา ซึ่งเป็นพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลกาบังนั้น พบว่า เด็กในช่วงอายุ 0-5 ปี มีภาวะทุพโภชนาการ และ พัฒนาการสมวัยอยู่ในเกณฑ์ต่ำ ดังนี้ ภาวะโภชนาการ ปี 2560,2561 และ 2562 สูงดีสมส่วน 72.67 % ปี สูงดีสมส่วน 70.73 % และ 71.53 ตามลำดับ พบว่าเด็กมีภาวะผอม 39.75% และค่อนเตี้ย-เตี้ย มีแนวโน้มสูง 54.84% เด็กที่มีภาวะโภชนาการไม่ดี มีผลต่อการพัฒนาด้าน สติปัญญาและพัฒนาการของเด็ก และมีความครอบคลุมของการตรวจค่อนข้างน้อย ๓๖.๖๙% จากการดำเนินงานที่ผ่านมา พบว่าประชาชนยังไม่เห็นความสำคัญของการดูแลโภชนาการและไม่มีความรู้ในการปรับอาหารให้เหมาะกับภาวะสุข ภาพของบุตรหลาน ประกอบกับภาวะเศรษฐกิจที่ไม่ดี ทำให้ผู้ปกครองสนใจแต่เรื่องประกอบอาชีพ หารายได้ มากกว่า ยิ่งทำให้เด็กเล็กได้รับการดูแลด้านโภชนาการได้น้อยลงไปอีก ถึงแม้ อสม.ในพื้นที่จะคัดกรองและประเมินภาวะโภชนาการทุกๆ 3 เดือน ตามที่ได้วางแผนไว้กับทีมสุขภาพ ก็พบว่าอุปกรณ์ยังไม่เพียงพอต่อการดำเนินงาน ทำให้ไม่สามารถคัดกรองได้ครอบคลุมในช่วงเวลาจำกัด จากการสอบถามผู้ปกครองพบว่าอาหารมื้อเช้า มีเพียงร้อยละ 20 ที่ผู้ปกครองทำกับข้าวเอง อีกร้อยละ 80 ซื้อกินที่ร้านอาหาร ซึงมักเป็น ขนมขบเคี้ยว ไส้กรอก ฯลฯ ซึ่งเป็นอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการน้อย และมีผงชูรสมาก ส่งผลให้เด็กมีภาวะทุพโภชนาการได้ง่าย จะเห็นว่าผู้ปกครองพาเด็กมาตรวจตามนัดเพียงร้อยละ 27 ซึ่งค่อนข้องน้อยมาก ทำให้การดำเนินงานส่งเสริมโภชนาการ ในเด็กมีผลลัพธ์ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จากปัญหาดังกล่าวงานเวชปฏิบัติครอบครัว จึงเห็นว่าการพัฒนาพัฒนาความรู้ให้แก่ทีมสุขภาพในพื้นที่ และจัดหาเครื่องชั่งน้ำหนักให้เพียงพอ ให้แก่ อสม ในการติดตามภาวะโภชนาการเด็กในชุมชน ให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ และส่งเสริมกิจกรรมปลูกผักเสริมธาติเหล็กในครัวเรือน เป็นจุดเริ่มต้นที่จะกระตุ้น่ให้ผู้ปกครองหันมาสนใจบุตรหลานด้านโภชนาการมากขึ้น จะเป็นการปูพื้นฐานและสร้างแรงจูงใจให้ผู้ปกครองสามารนำไปส่งเสริมให้บุตรมีภาวะโภชนาการและพัฒนาการที่

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 34,400.00 0 0.00
??/??/???? โครงการโภชนาการดี เริ่มที่บ้าน 0 34,400.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ปกครอง ในพื้นที่หมู่ที่4,หมู่ที่5หมู่ที่7 ตำบลกาบัง มีความรู้เรื่อง ความเข้าใจ สามารถประเมินภาวะโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี ตามคู่มือสมุดบันทึกสุขภาพเล่มสีชมพู

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 6 ส.ค. 2562 11:09 น.