พัฒนาศักยภาพทีม SRRT และศูนย์ประสานงานระบาดวิทยาประจำตำบลบาโหย ปี 2562
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ พัฒนาศักยภาพทีม SRRT และศูนย์ประสานงานระบาดวิทยาประจำตำบลบาโหย ปี 2562 ”
ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายเอกชัย รัตนมณี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บาโหย
ธันวาคม 2562
ชื่อโครงการ พัฒนาศักยภาพทีม SRRT และศูนย์ประสานงานระบาดวิทยาประจำตำบลบาโหย ปี 2562
ที่อยู่ ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L5259-1-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2562 ถึง 31 ธันวาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"พัฒนาศักยภาพทีม SRRT และศูนย์ประสานงานระบาดวิทยาประจำตำบลบาโหย ปี 2562 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บาโหย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
พัฒนาศักยภาพทีม SRRT และศูนย์ประสานงานระบาดวิทยาประจำตำบลบาโหย ปี 2562
บทคัดย่อ
โครงการ " พัฒนาศักยภาพทีม SRRT และศูนย์ประสานงานระบาดวิทยาประจำตำบลบาโหย ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5259-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2562 - 31 ธันวาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บาโหย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตำบลบาโหยอยู่ในพื้นที่ทุรกันดารเขตชายแดนภาคใต้มีโรคระบาดและโรคประจำถิ่นเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เช่น อุจจาระร่วง อาหารเป็นพิษ ไข้เลือดออก ไข้ฉี่หนูซึ่งเป็นพื้นที่รังโรคและมีประวัติผู้เสียชีวิต โดยเฉพาะไข้มาลาเรียสูงสุดในจังหวัดสงขลามีประวัติการเสียชีวิตจากเชื้อมาลาเรียขึ้นสมอง (p.f.)โดยขณะนึ้มีการระบาดในเชื้อชนิด p.v.(ปี 2562 จำนวน 13 ราย) แม้จะมีความรุนแรงน้อยกว่า แต่การรักษา ควบคุมโรคทำได้ยากกว่า อีกทั้งโรคไข้เลือดออก และโรคชิกุนคุนยา นอกจากนี้ยังมีโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน เช่น ประวัติการเสียชีวิตด้วยโรคคอตีบ เป็นต้น อีกทั้งยังพบผู้ป่วย ผู้ป่วยสงสัยโรคไอกรน อย่างต่อเนื่อง แม้จะมีอัตราต่ำกว่าพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ แต่มีการปฏิเสธวัคซีน การเคลื่อนย้าย และประชากรแฝงในพื้นที่จำนวนมาก ทั้งไทยและต่างด้าว ทำให้มีความเสี่ยงสูงสุดในพื้นที่จังหวัดสงขลา
จึงจำเป็นต้องสร้างความเข้มแข็งให้หน่วยบริการในพื้นที่ละเครือข่ายชุมชน (SRRT)ในการเตรียมความพร้อม ด้านคน เงิน ของ เพื่อการตอบโต้สถานการณ์อย่างทันท่วงที อันจะหยุดยั้งการระบาดและสูญเสียชีวิตของประชากรในพื้นที่ให้ได้มากที่สุด โดยนายอำเภอสะบ้าย้อยกำหนดให้ รพ.สต.เป็นศูนย์ระบาดวิทยาระดับตำบล ทำหน้าที่ควบคุมร่วมมือกับเครือข่ายชุมชน ผู้นำชุมชนอสม. องค์กรรัฐ และเอกชน ต่อสู้กับปัญหาโรคติดต่ออย่างมีประสิทธิภาพ
ทั้งนี้ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนดภารกิจให้หน่วยบริการ ดำเนินการป้องกันและควบคุมโรค (โรคติดต่อ) และเพื่อให้เป็นไปตาม มาตรฐานการควบคุมโรค (มาตรฐาน DHS/SRRT) และให้สามารถป้องกันโรคประจำถิ่นโรคระบาดในพื้นที่ (ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชื่อและอาการสำคัญของโรคติดต่ออันตรายพ.ศ.2559 / ชื่อและอาการสำคัญของโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังพ.ศ. 2559เป็นต้น)และพัฒนาศักยภาพทีมควบคุมโรคเครือข่ายระดับตำบลให้มีความพร้อมในการตอบโต้โรคระบาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งของศูนย์ประสานงานระบาดวิทยาระดับตำบล ดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ
- เพื่อพัฒนาศักยภาพทีม SRRT ให้สามรถปฏิบัติงานได้อย่างมีผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- พัฒนาศูนย์ระบาดวิทยาระดับตำบล
- จัดเตรียมความพร้อมวัสดุและเครื่องมือสื่อสำหรับควบคุมโรคระบาดในชุมชน
- อบรมพัฒนาศักยภาพเครือข่าย SRRT ระดับตำบล
- ประกวดนักระบาดดีเด่นระดับหมู่บ้าน/ตำบล
- ควบคุมโรคเชิงรุกในชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
4,500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ทีม SRRT ระดับตำบล 1 ทีม 20 คน
20
นักระบาดดีเด่นระดับหมู่บ้าน/ตำบล จำนวน 15 คน
15
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ศูนย์ประสานงานฯ มีประสิทธิภาพในระบบป้องกันและควบคุมโรคตามมาตรฐาน DHS
- ทีม SRRT สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสร้างความเข้มแข็งของศูนย์ประสานงานระบาดวิทยาระดับตำบล ดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : ศูนย์ฯมีความพร้อมในการควบคุมโรค (ตรวจรับรองเกณฑ์โดยผู้ประเมินจาก สสอ.) หน่วยบริการจำนวน 1 แห่ง (ทีม SRRT ตำบลบาโหย 20 คน) ผ่านการประเมิน
1.00
1.00
2
เพื่อพัฒนาศักยภาพทีม SRRT ให้สามรถปฏิบัติงานได้อย่างมีผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐาน
ตัวชี้วัด : เครือข่ายควบคุมโรคผ่านการประเมินมาตรฐานในระดับอำเภอ ทีม SRRT ตำบลบาโหย มีพร้อมตามบัญชีรายการ สามารถควบคุมโรคตามเกณฑ์
1.00
1.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
4535
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
4,500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
ทีม SRRT ระดับตำบล 1 ทีม 20 คน
20
นักระบาดดีเด่นระดับหมู่บ้าน/ตำบล จำนวน 15 คน
15
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความเข้มแข็งของศูนย์ประสานงานระบาดวิทยาระดับตำบล ดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพทีม SRRT ให้สามรถปฏิบัติงานได้อย่างมีผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พัฒนาศูนย์ระบาดวิทยาระดับตำบล (2) จัดเตรียมความพร้อมวัสดุและเครื่องมือสื่อสำหรับควบคุมโรคระบาดในชุมชน (3) อบรมพัฒนาศักยภาพเครือข่าย SRRT ระดับตำบล (4) ประกวดนักระบาดดีเด่นระดับหมู่บ้าน/ตำบล (5) ควบคุมโรคเชิงรุกในชุมชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
พัฒนาศักยภาพทีม SRRT และศูนย์ประสานงานระบาดวิทยาประจำตำบลบาโหย ปี 2562 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L5259-1-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายเอกชัย รัตนมณี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ พัฒนาศักยภาพทีม SRRT และศูนย์ประสานงานระบาดวิทยาประจำตำบลบาโหย ปี 2562 ”
ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายเอกชัย รัตนมณี
ธันวาคม 2562
ที่อยู่ ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L5259-1-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2562 ถึง 31 ธันวาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"พัฒนาศักยภาพทีม SRRT และศูนย์ประสานงานระบาดวิทยาประจำตำบลบาโหย ปี 2562 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บาโหย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
พัฒนาศักยภาพทีม SRRT และศูนย์ประสานงานระบาดวิทยาประจำตำบลบาโหย ปี 2562
บทคัดย่อ
โครงการ " พัฒนาศักยภาพทีม SRRT และศูนย์ประสานงานระบาดวิทยาประจำตำบลบาโหย ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5259-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2562 - 31 ธันวาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บาโหย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตำบลบาโหยอยู่ในพื้นที่ทุรกันดารเขตชายแดนภาคใต้มีโรคระบาดและโรคประจำถิ่นเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เช่น อุจจาระร่วง อาหารเป็นพิษ ไข้เลือดออก ไข้ฉี่หนูซึ่งเป็นพื้นที่รังโรคและมีประวัติผู้เสียชีวิต โดยเฉพาะไข้มาลาเรียสูงสุดในจังหวัดสงขลามีประวัติการเสียชีวิตจากเชื้อมาลาเรียขึ้นสมอง (p.f.)โดยขณะนึ้มีการระบาดในเชื้อชนิด p.v.(ปี 2562 จำนวน 13 ราย) แม้จะมีความรุนแรงน้อยกว่า แต่การรักษา ควบคุมโรคทำได้ยากกว่า อีกทั้งโรคไข้เลือดออก และโรคชิกุนคุนยา นอกจากนี้ยังมีโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน เช่น ประวัติการเสียชีวิตด้วยโรคคอตีบ เป็นต้น อีกทั้งยังพบผู้ป่วย ผู้ป่วยสงสัยโรคไอกรน อย่างต่อเนื่อง แม้จะมีอัตราต่ำกว่าพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ แต่มีการปฏิเสธวัคซีน การเคลื่อนย้าย และประชากรแฝงในพื้นที่จำนวนมาก ทั้งไทยและต่างด้าว ทำให้มีความเสี่ยงสูงสุดในพื้นที่จังหวัดสงขลา จึงจำเป็นต้องสร้างความเข้มแข็งให้หน่วยบริการในพื้นที่ละเครือข่ายชุมชน (SRRT)ในการเตรียมความพร้อม ด้านคน เงิน ของ เพื่อการตอบโต้สถานการณ์อย่างทันท่วงที อันจะหยุดยั้งการระบาดและสูญเสียชีวิตของประชากรในพื้นที่ให้ได้มากที่สุด โดยนายอำเภอสะบ้าย้อยกำหนดให้ รพ.สต.เป็นศูนย์ระบาดวิทยาระดับตำบล ทำหน้าที่ควบคุมร่วมมือกับเครือข่ายชุมชน ผู้นำชุมชนอสม. องค์กรรัฐ และเอกชน ต่อสู้กับปัญหาโรคติดต่ออย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนดภารกิจให้หน่วยบริการ ดำเนินการป้องกันและควบคุมโรค (โรคติดต่อ) และเพื่อให้เป็นไปตาม มาตรฐานการควบคุมโรค (มาตรฐาน DHS/SRRT) และให้สามารถป้องกันโรคประจำถิ่นโรคระบาดในพื้นที่ (ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชื่อและอาการสำคัญของโรคติดต่ออันตรายพ.ศ.2559 / ชื่อและอาการสำคัญของโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังพ.ศ. 2559เป็นต้น)และพัฒนาศักยภาพทีมควบคุมโรคเครือข่ายระดับตำบลให้มีความพร้อมในการตอบโต้โรคระบาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งของศูนย์ประสานงานระบาดวิทยาระดับตำบล ดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ
- เพื่อพัฒนาศักยภาพทีม SRRT ให้สามรถปฏิบัติงานได้อย่างมีผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- พัฒนาศูนย์ระบาดวิทยาระดับตำบล
- จัดเตรียมความพร้อมวัสดุและเครื่องมือสื่อสำหรับควบคุมโรคระบาดในชุมชน
- อบรมพัฒนาศักยภาพเครือข่าย SRRT ระดับตำบล
- ประกวดนักระบาดดีเด่นระดับหมู่บ้าน/ตำบล
- ควบคุมโรคเชิงรุกในชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 4,500 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
ทีม SRRT ระดับตำบล 1 ทีม 20 คน | 20 | |
นักระบาดดีเด่นระดับหมู่บ้าน/ตำบล จำนวน 15 คน | 15 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ศูนย์ประสานงานฯ มีประสิทธิภาพในระบบป้องกันและควบคุมโรคตามมาตรฐาน DHS
- ทีม SRRT สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างความเข้มแข็งของศูนย์ประสานงานระบาดวิทยาระดับตำบล ดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : ศูนย์ฯมีความพร้อมในการควบคุมโรค (ตรวจรับรองเกณฑ์โดยผู้ประเมินจาก สสอ.) หน่วยบริการจำนวน 1 แห่ง (ทีม SRRT ตำบลบาโหย 20 คน) ผ่านการประเมิน |
1.00 | 1.00 |
|
|
2 | เพื่อพัฒนาศักยภาพทีม SRRT ให้สามรถปฏิบัติงานได้อย่างมีผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐาน ตัวชี้วัด : เครือข่ายควบคุมโรคผ่านการประเมินมาตรฐานในระดับอำเภอ ทีม SRRT ตำบลบาโหย มีพร้อมตามบัญชีรายการ สามารถควบคุมโรคตามเกณฑ์ |
1.00 | 1.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 4535 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 4,500 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
ทีม SRRT ระดับตำบล 1 ทีม 20 คน | 20 | ||
นักระบาดดีเด่นระดับหมู่บ้าน/ตำบล จำนวน 15 คน | 15 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความเข้มแข็งของศูนย์ประสานงานระบาดวิทยาระดับตำบล ดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพทีม SRRT ให้สามรถปฏิบัติงานได้อย่างมีผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พัฒนาศูนย์ระบาดวิทยาระดับตำบล (2) จัดเตรียมความพร้อมวัสดุและเครื่องมือสื่อสำหรับควบคุมโรคระบาดในชุมชน (3) อบรมพัฒนาศักยภาพเครือข่าย SRRT ระดับตำบล (4) ประกวดนักระบาดดีเด่นระดับหมู่บ้าน/ตำบล (5) ควบคุมโรคเชิงรุกในชุมชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
พัฒนาศักยภาพทีม SRRT และศูนย์ประสานงานระบาดวิทยาประจำตำบลบาโหย ปี 2562 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L5259-1-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายเอกชัย รัตนมณี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......