โครงการส่งเสริมสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ”
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปริก
หัวหน้าโครงการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ที่อยู่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปริก จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7889-3-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปริก
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปริก รหัสโครงการ 60-L7889-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,220.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพอนามัยเป็นปัจจัยสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ของเด็กปฐมวัย
ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกคนให้สามารถมีคุณภาพชีวิตที่ดีจากการวิเคราะห์ข้อมูลของผู้ดูแลเด็ก ของผู้ดูแลเด็กในเดือนพ.ค. 59 - กุมภาพันธ์ 60 พบว่าเด็กเล็กจำนวน 61 คนมีเด็กที่มีปัญหาด้านโภชนาการจำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 9.84เด็กที่เข้ามาอาศัยอยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสามารถอยู่ร่วมกันกับครู ผู้ดูแลเด็ก และเพื่อนๆ ได้อย่างเท่าเทียมกันและมีความสุข ซึ่งศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการอำนวยความสะดวกสบาย มีความสะอาด ถูกสุขอนามัย มีความปลอดภัย ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการ อาหารและโภชนาการที่เหมาะสมเด็กมีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ และเจริญเติบโตตามวัย ศูนย์เด็กเล็กมีการจัดการ ควบคุม ส่งเสริม สนับสนุนปัจจัยเอื้อ และขจัดหรือลดปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อความน่าอยู่ของศูนย์เด็กเล็ก โดยมุ่งหวังให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนาให้มีความสมบูรณ์ ทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพ และครูผู้ดูแลเด็กได้รับการส่งเสริมให้สามารถทำงานได้อย่างสุขกายสบายใจ
ครู ผู้ปกครอง และชุมชนมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาศูนย์เด็กเล็ก เด็กควรได้รับการปลูกฝังพฤติกรรม สุขภาพ ทั้งด้านการดูแลสุขภาพตนเอง และดูแลความสะอาดของสิ่งแวดล้อม
การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ปลอดภัยจากสารพิษต่างๆ เช่น ยาฆ่าแมลงที่ตกค้าง
ในพืชผักผลไม้ อันจะส่งผลให้นักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพอนามัยที่ดีที่ และทำได้ถูกต้องเมื่อเติบโต
เป็นผู้ใหญ่ ครูผู้ดูแลเด็กได้รับการฝึกอบรมเพิ่มพูนความรู้และทักษะด้านต่าง ๆ เพื่อให้สามารถ ดูแลเด็ก
ได้ดียิ่งขึ้น ผู้ปกครอง เข้าร่วมสนับสนุนกิจกรรม โดยสนับสนุนกิจกรรมการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กอย่างต่อเนื่อง ระหว่างบ้าน และศูนย์เด็ก และเกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคลากรในท้องถิ่น ทำให้เกิดการร่วมมือร่วมใจจากศูนย์เด็กเล็ก ชุมชน ดังนั้น เพื่อสร้างเสริมสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จึงได้บูรณาการงานด้านการส่งเสริมสุขภาพ และการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในศูนย์เด็กเล็ก โดยมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัยให้ได้รับการส่งเสริมให้มีสุขภาพดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สะอาด ปลอดภัย เอื้อต่อการเรียนรู้
ตลอดถึงได้รับการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพ และพฤติกรรมอนามัยสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสม
สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ดี เพื่อเด็กจะได้เติบโตเป็นประชากรที่มีคุณค่าสำหรับประเทศต่อไป
รวมทั้งเป็นการส่งเสริมการดำเนินงานตามมาตรการป้องกันด้านสุขอนามัย การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตของประชาชนในชุมชนเทศบาลตำบลปริก ตามวิสัยทัศน์ของเทศบาลตำบลปริกต่อไป
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปริกจึงเห็นควรจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของเทศบาลตำบลปริก ประจำปี ๒๕๖๐ ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัย ครูผู้ดูแลเด็ก และเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องได้ทราบถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพอนามัยและการรู้จักการดูแลสุขภาพร่างกายได้ด้วยตนเอง แต่ทั้งนี้จะต้อง ร่วมมือกันหลายฝ่าย เช่น ครู ผู้ปกครองเด็ก เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รวมถึงหน่วยงานต้นสังกัด เพื่อให้การดำเนินงานประสบความสำเร็จตามเป้าหมาย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้นักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปริกที่มีความเสี่ยงและมีภาวะทุพโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการและได้รับการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการ
- 2. เพื่อให้นักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปริกมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตมีโภชนาการที่สมวัย
- 3. เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจด้านโภชนาการเด็กเล็ก ๐- ๖ ปี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
70
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กนักเรียนที่มีความเสี่ยงและมีภาวะทุพโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ
- เด็กก่อนวัยเรียน มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโต มีโภชนาการที่สมวัย
- ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจด้านโภชนาการในเด็กเล็ก 0-6 ปี
- ครัวเรือนของนักเรียนมีความมั่นคงทางอาหารและได้รับอาหารที่เพียงพอและปลอดภัย
เกิดครัวเรือนต้นแบบอย่างน้อย 10 ครัวเรือน และขยายผลไม่น้อยกว่าปีละ3ครัวเรือนเพียงพอ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ค่าวัสดุเครื่องชั่งน้ำหนักนักเรียน จำนวน 1 เครื่อง
วันที่ 1 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
วัสดุเครื่องชั่งน้ำหนักนักเรียน จำนวน 1 เครื่อง
1
70
2. ค่าที่วัดส่วนสูงสำหรับเด็กเล็ก จำนวน ๑ อัน
วันที่ 5 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ที่วัดส่วนสูงสำหรับเด็กเล็ก จำนวน ๑ อัน
1
70
3. ค่าถ่ายเอกสารแผ่นพับให้ความรู้ผู้ปกครอง
วันที่ 5 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เอกสารแผ่นพับให้ความรู้ผู้ปกครอง
70
70
4. ค่าตอบแทนวิทยากรให้ความรู้เรื่อง การจัดอาหารและโภชนาการสำหรับเด็ก
วันที่ 3 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ตอบแทนวิทยากรให้ความรู้เรื่อง การจัดอาหารและโภชนาการสำหรับเด็ก
70
70
5. ค่าตอบแทนวิทยากรให้ความรู้เรื่องการดูแลส่งเสริมพัฒนาการตามวัย
วันที่ 3 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ตอบแทนวิทยากรให้ความรู้เรื่องการดูแลส่งเสริมพัฒนาการตามวัย
70
70
6. ค่าตอบแทนวิทยากรให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ
วันที่ 3 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ตอบแทนวิทยากรให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ
70
70
7. ค่าอาหารว่าง
วันที่ 3 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อาหารว่างและเครื่องดื่ม
70
70
8. ไข่ไก่ คนละ 1 แผง 1 เดือน แผงละ 100 บาท x 3 เดือน
วันที่ 3 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ไข่ไก่ คนละ 1 แผง 1 เดือน แผงละ 100 บาท x 3 เดือน
10
70
9. นมจืด คนละ 1 ลัง 1 เดือน ลังละ 288 x 3 เดือน
วันที่ 3 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นมจืด คนละ 1 ลัง 1 เดือน ลังละ 288 x 3 เดือน
10
70
10. ค่าเมล็ดพันธ์พืช
วันที่ 3 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เมล็ดพันธ์พืช
70
70
11. ค่าเขียนป้ายโครงการ 1 ผืน
วันที่ 10 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ป้ายโครงการ 1 ผืน
1
70
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการดำเนินงานโครงการนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการในในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั้งหมด จำนวน 10 คน ได้รับอาหารเสริม นมและไข่ ผู้ปกครองนักเรียน ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับความรู้ เรื่องการดูแลส่งเสริมโภชนาการให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง มีน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานเด็กไทย และได้รับความรู้ เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภคในครัวเรือนเพื่อป้องกันสารพิษตกค้างในผักต่างๆทำให้ปลอดภัยห่างไกลจากโรค ผู้ปกครองและชุมชนมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกันจากการดำเนินกิจกรรมเยี่ยมบ้านเพื่อติดตามกิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อคัดเลือกครัวเรือนต้นแบบที่เข้าร่วมโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้นักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปริกที่มีความเสี่ยงและมีภาวะทุพโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการและได้รับการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการ
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปริก จำนวน ๗๐ คนได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะทุพโภชนาการส่งเสริมอาหารที่เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง
2
2. เพื่อให้นักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปริกมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตมีโภชนาการที่สมวัย
ตัวชี้วัด : 2. นักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๗๐ คนมีน้ำหนัก ส่วนสูง เส้นรอบศีรษะตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
3
3. เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจด้านโภชนาการเด็กเล็ก ๐- ๖ ปี
ตัวชี้วัด : 3. ผู้ปกครองนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปริก จำนวน ๗๐ คน มีความรู้ความเข้าใจด้านโภชนาการเด็กเล็ก ๐- ๖ ปี
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
70
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
70
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปริกที่มีความเสี่ยงและมีภาวะทุพโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการและได้รับการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการ (2) 2. เพื่อให้นักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปริกมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตมีโภชนาการที่สมวัย (3) 3. เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจด้านโภชนาการเด็กเล็ก ๐- ๖ ปี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7889-3-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ”
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปริก
หัวหน้าโครงการ
กันยายน 2560
ที่อยู่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปริก จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7889-3-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปริก
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปริก รหัสโครงการ 60-L7889-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,220.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพอนามัยเป็นปัจจัยสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ของเด็กปฐมวัย
ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกคนให้สามารถมีคุณภาพชีวิตที่ดีจากการวิเคราะห์ข้อมูลของผู้ดูแลเด็ก ของผู้ดูแลเด็กในเดือนพ.ค. 59 - กุมภาพันธ์ 60 พบว่าเด็กเล็กจำนวน 61 คนมีเด็กที่มีปัญหาด้านโภชนาการจำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 9.84เด็กที่เข้ามาอาศัยอยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสามารถอยู่ร่วมกันกับครู ผู้ดูแลเด็ก และเพื่อนๆ ได้อย่างเท่าเทียมกันและมีความสุข ซึ่งศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการอำนวยความสะดวกสบาย มีความสะอาด ถูกสุขอนามัย มีความปลอดภัย ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการ อาหารและโภชนาการที่เหมาะสมเด็กมีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ และเจริญเติบโตตามวัย ศูนย์เด็กเล็กมีการจัดการ ควบคุม ส่งเสริม สนับสนุนปัจจัยเอื้อ และขจัดหรือลดปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อความน่าอยู่ของศูนย์เด็กเล็ก โดยมุ่งหวังให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนาให้มีความสมบูรณ์ ทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพ และครูผู้ดูแลเด็กได้รับการส่งเสริมให้สามารถทำงานได้อย่างสุขกายสบายใจ
ครู ผู้ปกครอง และชุมชนมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาศูนย์เด็กเล็ก เด็กควรได้รับการปลูกฝังพฤติกรรม สุขภาพ ทั้งด้านการดูแลสุขภาพตนเอง และดูแลความสะอาดของสิ่งแวดล้อม
การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ปลอดภัยจากสารพิษต่างๆ เช่น ยาฆ่าแมลงที่ตกค้าง
ในพืชผักผลไม้ อันจะส่งผลให้นักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพอนามัยที่ดีที่ และทำได้ถูกต้องเมื่อเติบโต
เป็นผู้ใหญ่ ครูผู้ดูแลเด็กได้รับการฝึกอบรมเพิ่มพูนความรู้และทักษะด้านต่าง ๆ เพื่อให้สามารถ ดูแลเด็ก
ได้ดียิ่งขึ้น ผู้ปกครอง เข้าร่วมสนับสนุนกิจกรรม โดยสนับสนุนกิจกรรมการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กอย่างต่อเนื่อง ระหว่างบ้าน และศูนย์เด็ก และเกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคลากรในท้องถิ่น ทำให้เกิดการร่วมมือร่วมใจจากศูนย์เด็กเล็ก ชุมชน ดังนั้น เพื่อสร้างเสริมสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จึงได้บูรณาการงานด้านการส่งเสริมสุขภาพ และการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในศูนย์เด็กเล็ก โดยมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัยให้ได้รับการส่งเสริมให้มีสุขภาพดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สะอาด ปลอดภัย เอื้อต่อการเรียนรู้
ตลอดถึงได้รับการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพ และพฤติกรรมอนามัยสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสม
สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ดี เพื่อเด็กจะได้เติบโตเป็นประชากรที่มีคุณค่าสำหรับประเทศต่อไป
รวมทั้งเป็นการส่งเสริมการดำเนินงานตามมาตรการป้องกันด้านสุขอนามัย การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตของประชาชนในชุมชนเทศบาลตำบลปริก ตามวิสัยทัศน์ของเทศบาลตำบลปริกต่อไป
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปริกจึงเห็นควรจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของเทศบาลตำบลปริก ประจำปี ๒๕๖๐ ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัย ครูผู้ดูแลเด็ก และเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องได้ทราบถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพอนามัยและการรู้จักการดูแลสุขภาพร่างกายได้ด้วยตนเอง แต่ทั้งนี้จะต้อง ร่วมมือกันหลายฝ่าย เช่น ครู ผู้ปกครองเด็ก เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รวมถึงหน่วยงานต้นสังกัด เพื่อให้การดำเนินงานประสบความสำเร็จตามเป้าหมาย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้นักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปริกที่มีความเสี่ยงและมีภาวะทุพโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการและได้รับการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการ
- 2. เพื่อให้นักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปริกมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตมีโภชนาการที่สมวัย
- 3. เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจด้านโภชนาการเด็กเล็ก ๐- ๖ ปี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 70 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กนักเรียนที่มีความเสี่ยงและมีภาวะทุพโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ
- เด็กก่อนวัยเรียน มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโต มีโภชนาการที่สมวัย
- ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจด้านโภชนาการในเด็กเล็ก 0-6 ปี
- ครัวเรือนของนักเรียนมีความมั่นคงทางอาหารและได้รับอาหารที่เพียงพอและปลอดภัย
เกิดครัวเรือนต้นแบบอย่างน้อย 10 ครัวเรือน และขยายผลไม่น้อยกว่าปีละ3ครัวเรือนเพียงพอ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ค่าวัสดุเครื่องชั่งน้ำหนักนักเรียน จำนวน 1 เครื่อง |
||
วันที่ 1 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นวัสดุเครื่องชั่งน้ำหนักนักเรียน จำนวน 1 เครื่อง
|
1 | 70 |
2. ค่าที่วัดส่วนสูงสำหรับเด็กเล็ก จำนวน ๑ อัน |
||
วันที่ 5 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นที่วัดส่วนสูงสำหรับเด็กเล็ก จำนวน ๑ อัน
|
1 | 70 |
3. ค่าถ่ายเอกสารแผ่นพับให้ความรู้ผู้ปกครอง |
||
วันที่ 5 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเอกสารแผ่นพับให้ความรู้ผู้ปกครอง
|
70 | 70 |
4. ค่าตอบแทนวิทยากรให้ความรู้เรื่อง การจัดอาหารและโภชนาการสำหรับเด็ก |
||
วันที่ 3 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นตอบแทนวิทยากรให้ความรู้เรื่อง การจัดอาหารและโภชนาการสำหรับเด็ก
|
70 | 70 |
5. ค่าตอบแทนวิทยากรให้ความรู้เรื่องการดูแลส่งเสริมพัฒนาการตามวัย |
||
วันที่ 3 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นตอบแทนวิทยากรให้ความรู้เรื่องการดูแลส่งเสริมพัฒนาการตามวัย
|
70 | 70 |
6. ค่าตอบแทนวิทยากรให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ |
||
วันที่ 3 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นตอบแทนวิทยากรให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ
|
70 | 70 |
7. ค่าอาหารว่าง |
||
วันที่ 3 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอาหารว่างและเครื่องดื่ม
|
70 | 70 |
8. ไข่ไก่ คนละ 1 แผง 1 เดือน แผงละ 100 บาท x 3 เดือน |
||
วันที่ 3 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นไข่ไก่ คนละ 1 แผง 1 เดือน แผงละ 100 บาท x 3 เดือน
|
10 | 70 |
9. นมจืด คนละ 1 ลัง 1 เดือน ลังละ 288 x 3 เดือน |
||
วันที่ 3 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนมจืด คนละ 1 ลัง 1 เดือน ลังละ 288 x 3 เดือน
|
10 | 70 |
10. ค่าเมล็ดพันธ์พืช |
||
วันที่ 3 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเมล็ดพันธ์พืช
|
70 | 70 |
11. ค่าเขียนป้ายโครงการ 1 ผืน |
||
วันที่ 10 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นป้ายโครงการ 1 ผืน
|
1 | 70 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการดำเนินงานโครงการนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการในในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั้งหมด จำนวน 10 คน ได้รับอาหารเสริม นมและไข่ ผู้ปกครองนักเรียน ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับความรู้ เรื่องการดูแลส่งเสริมโภชนาการให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง มีน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานเด็กไทย และได้รับความรู้ เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภคในครัวเรือนเพื่อป้องกันสารพิษตกค้างในผักต่างๆทำให้ปลอดภัยห่างไกลจากโรค ผู้ปกครองและชุมชนมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกันจากการดำเนินกิจกรรมเยี่ยมบ้านเพื่อติดตามกิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อคัดเลือกครัวเรือนต้นแบบที่เข้าร่วมโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้นักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปริกที่มีความเสี่ยงและมีภาวะทุพโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการและได้รับการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการ ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปริก จำนวน ๗๐ คนได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะทุพโภชนาการส่งเสริมอาหารที่เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง |
|
|||
2 | 2. เพื่อให้นักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปริกมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตมีโภชนาการที่สมวัย ตัวชี้วัด : 2. นักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๗๐ คนมีน้ำหนัก ส่วนสูง เส้นรอบศีรษะตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข |
|
|||
3 | 3. เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจด้านโภชนาการเด็กเล็ก ๐- ๖ ปี ตัวชี้วัด : 3. ผู้ปกครองนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปริก จำนวน ๗๐ คน มีความรู้ความเข้าใจด้านโภชนาการเด็กเล็ก ๐- ๖ ปี |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 70 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 70 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปริกที่มีความเสี่ยงและมีภาวะทุพโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการและได้รับการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการ (2) 2. เพื่อให้นักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปริกมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตมีโภชนาการที่สมวัย (3) 3. เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจด้านโภชนาการเด็กเล็ก ๐- ๖ ปี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7889-3-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......